Page 50 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 50

3-27





                               การวิเคราะหจัดทําหนวยดิน

                                การจัดทําหนวยดิน ใชขอมูลทรัพยากรดินเปนพื้นฐานในการวิเคราะห โดยยึด
                  หลักเกณฑ สมบัติของหนวยแผนที่ดินที่เหมือนกัน รวมใหเปนหนวยดินเดียวกัน จากสมบัติของดิน

                  ทางกายภาพ และทางเคมีของดิน ไดแก การระบายน้ํา ความลึกของดิน เนื้อดินบน ปฏิกิริยาของดิน
                  อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน โพแทสเซียมที่เปนประโยชน ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน

                  ความอิ่มตัวเบส คาการนําไฟฟา ความลึกของดินที่พบสารจาโรไซด และความลาดชัน นํามาวิเคราะห
                  รวมกับการใชประโยชนที่ดินในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยเฉพาะ พื้นที่ปลูกขาว ปลูกไมยืนตน และปลูก

                  ไมผล ซึ่งตองมีการปรับสภาพพื้นที่ เพื่อนําไปใชในการปลูกพืช เชน การทําคันนาเพื่อขังน้ําในดินที่มี
                  สภาพพื้นที่ดอน การยกรองหรือพูนโคนตน เพื่อชวยในการระบายน้ําและอากาศไดดีขึ้นในดินที่มี
                  สภาพพื้นที่ลุม โดยหนวยดินที่พบการปรับสภาพพื้นที่ไดกําหนดสัญลักษณเพิ่มเติมจากหนวยดินเดิม เชน

                  หนวยดินที่ 1.1 หมายถึง หนวยดินที่ 1 ที่มีการปรับสภาพพื้นที่เพื่อใชในการทํานา หรือปลูกไมยืนตน
                  หรือไมผล

                                หนวยดิน จังหวัดสุราษฎรธานี มีทั้งหมด 196 หนวยดิน แบงออกเปน 3 ประเภท
                  ประกอบดวย หนวยดินในพื้นที่ลุม ไดแก หนวยดินที่ 1 - 33 เนื้อที่รวม 1,039,724 ไร หรือรอยละ

                  12.86 ของเนื้อที่จังหวัด หนวยดินในพื้นที่ดอน ไดแก หนวยดินที่ 34 - 185 เนื้อที่รวม 3,563,431 ไร
                  หรือรอยละ 44.25 ของเนื้อที่จังหวัด และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด ไดแก หนวยดินที่ 186 - 196 เนื้อที่รวม

                  3,454,013 ไร หรือรอยละ 42.86 ของเนื้อที่จังหวัด (ตารางที่ 3 - 5)
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55