Page 43 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 43

3-17





                  เปนสวนใหญ โดยพื้นที่ที่พบมากที่สุด คือ อําเภอเมืองสุราษฎรธานี รองลงมา คือ อําเภอไชยา และอําเภอ

                  พุนพิน ตามลําดับ
                                  (2)  ดินเปรี้ยวจัด เนื้อที่ 146,387 ไร หรือรอยละ 1.81 ของเนื้อที่จังหวัด เนื้อดิน

                  เปนดินเหนียวจัด พบสารจาโรไซต สีเหลืองฟางขาว (KFe (SO ) (OH) ) หรือตะกอนน้ําทะเลที่มี
                                                                      3
                                                                                6
                                                                          4 2
                  องคประกอบของสารกํามะถันมาก ภายในความลึก 150 เซนติเมตรจากผิวดิน สภาพพื้นที่โดยทั่วไป
                  เปนที่ลุมต่ํา น้ําทวมขัง มีตนกกหรือกระถินทุงขึ้นอยูทั่วไป คุณภาพน้ําในบริเวณดังกลาวใสมาก
                  และเปนกรดจัดมาก มักพบคราบสนิมเหล็กในดินและที่ผิวน้ํา เมื่อดินแหงจะแตกระแหงเปนรองกวาง

                  และลึก เมื่อขุดดินหรือยกรองลึก จะพบ สารจาโรไซตกระจายอยูทั่วไป หรือพบชั้นดินเลนเหนียว
                  หรือรวนเหนียวปนทรายแปง ชั้นดินเลนนี้เมื่อแหงมีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดรุนแรงมาก
                  ดินเปรี้ยวจัด แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

                                      (2.1)  ดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกํามะถันในระดับตื้น เนื้อที่ 88,496 ไร
                  หรือรอยละ 1.09 ของเนื้อที่จังหวัด พบชั้นดินที่มีสารจาโรไซต สีเหลืองฟางขาว หรือชั้นดินที่เปนกรด

                  รุนแรงมากภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน โดยทั่วไป ชั้นดินบนมีคาความเปนกรดเปนดางของ
                  ดินต่ํากวา 4.0 พบมากที่สุดในพื้นที่อําเภอพุนพิน รองลงมาคืออําเภอกาญจนดิษฐ

                                      (2.2)  ดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกํามะถันในระดับลึกปานกลาง เนื้อที่
                  57,891 ไร หรือรอยละ 0.72 ของเนื้อที่จังหวัด พบชั้นดินที่มีสารจาโรไซต สีเหลืองฟางขาว หรือชั้นดิน

                  ที่เปนกรดรุนแรงมาก ลึก 50 - 100 เซนติเมตรจากผิวดิน โดยทั่วไปชั้นดินบนมีคาความเปนกรดเปนดาง
                  ของดินต่ํากวา 4.5 พบมากที่สุดในพื้นที่อําเภอทาฉาง รองลงมาคืออําเภอพุนพิน
                                  (3)  ดินทรายจัด เนื้อที่ 59,264 ไร หรือรอยละ 0.72 ของเนื้อที่จังหวัด เนื้อดินเปน

                  ดินทรายหรือดินทรายปนดินรวน เนื้อดินเหนียวมีนอย เปนดินที่ไมมีโครงสราง มีลักษณะเปนเม็ดเดี่ยวๆ
                  การเกาะตัวหรือยึดตัวของเม็ดดินต่ํา ทําใหเกิดปญหาการชะลางพังทลายของดิน บางพื้นที่ ดินแนนทึบ

                  เนื่องจากเนื้อดินเปนทรายละเอียด เปนอุปสรรคตอการเจริญเติบโตของพืช มีการระบายน้ําดีเกินไป ทําให
                  เกิดปญหาการขาดแคลนน้ํา  ความสามารถในการอุมน้ําและดูดซับธาตุอาหารต่ํา ความอุดมสมบูรณของดิน

                  ต่ํา การใชประโยชนเพื่อการปลูกพืชตองมีการจัดการเปนพิเศษกวาดินทั่วไป ดินทรายจัดแบงออกเปน 3
                  ประเภท คือ

                                      (3.1)  ดินทรายจัดในพื้นที่ลุม เนื้อที่ 4,452 ไร  หรือรอยละ 0.05ของเนื้อที่
                  จังหวัด เปนดินที่พบตามบริเวณที่ลุมระหวางสันหาดหรือเนินทรายชายฝงทะเล หรือในพื้นที่ราบเรียบที่
                  อยูใกลภูเขา หินทรายเนื้อหยาบ เปนดินลึกมาก การระบายน้ําเลวหรือคอนขางเลว พบมากที่สุดในพื้นที่

                  อําเภออําเภอไชยา รองลงมาคืออําเภอทาชนะ
                                      (3.2)  ดินทรายจัดในพื้นที่ดอน เนื้อที่ 46,351 ไร หรือรอยละ 0.57 ของเนื้อที่

                  จังหวัด พบตามบริเวณหาดทราย สันทรายชายทะเล หรือบริเวณพื้นที่ลอนลาดจนถึงที่ลาดเชิงเขา เปน
                  ดินลึกมาก การระบายน้ําดีถึงคอนขางมาก  พบมากที่สุดในพื้นที่อําเภออําเภอทาชนะ รองลงมาคือ
                  อําเภอไชยา
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48