Page 41 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 41

3-15





                               ภาพรวมของทรัพยากรดิน จังหวัดสุราษฎรธานี แบงออกเปน 3 กลุมใหญ ดังนี้

                               (1)  ดินในพื้นที่ราบลุม สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ พบในบริเวณที่ราบน้ํา
                  ทะเลทวมถึง ที่ราบน้ําทะเลเคยทวมถึง ที่ลุมต่ําระหวางสันทราย ที่ราบลุมน้ําทวมถึงตะพักลําน้ํา ถึงที่

                  ราบระหวางเนินเขาและหุบเขา ในชวงฤดูฝนมีน้ําแชขัง ระดับน้ําใตดินอยูใกลผิวดิน การระบายน้ํา
                  คอนขางเลว เลวถึงเลวมาก ดินมีสีเทาหรือสีเทาออน มีจุดประสีตลอดหนาตัดดิน บงบอกถึง

                  การมีน้ําแชขังในหนาตัดดิน ปฏิกิริยาดิน สวนใหญเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง หากบริเวณ
                  ใดมีอิทธิพลของดินเปรี้ยวจัดเขามาเกี่ยวของ ปฏิกิริยาดินจะเปนกรดรุนแรงมากถึงเปนกรดจัดมาก

                  มีความอุดมสมบูรณต่ําถึงปานกลาง จําแนกตามกลุมเนื้อดินอยางกวางๆ ได 5 กลุม ดังนี้
                                   (1.1)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินเลน เนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง
                  ที่มีศักยภาพเปนดินเปรี้ยวจัด ยังไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเลขึ้นลงเปนประจํา ไดแก ชุดดินตะกั่วปา (Tkt)

                                   (1.2)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินเหนียว เนื้อดินบนเปนดินรวน ดินรวนเหนียวปนทราย
                  แปงหรือดินเหนียว ดินลางเปนดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแปง ไดแก ชุดดินปากพนัง (Ppn)

                  ชุดดินระโนด (Ran)  ชุดดินบางแพ (Bph)  ชุดดินละงู (Lgu)  ชุดดินพัทลุง (Ptl)  ชุดดินทาศาลา (Tsl)
                  ชุดดินสุไหงโกลก (Gk)  ชุดดินบางนารา (Ba)  บริเวณที่ไดรับอิทธิพลของตะกอนทะเลเปนดินเปรี้ยวจัด

                  ไดแก ชุดดินมูโนะ (Mu) และชุดดินระแงะ (Ra)
                                   (1.3)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินรวน เนื้อดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนทราย ดินรวน

                  ปนทรายแปง ดินลางเปนดินรวน ดินรวนปนทราย ดินรวนเหนียว ดินรวนเหนียวปนทราย
                  หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง ไดแก ชุดดินตากใบ (Ta) ชุดดินสายบุรี (Bu) ชุดดินโคกเคียน (Ko)
                  ชุดดินวิสัย (Vi) ชุดดินสงขลา (Sng) ชุดดินปากคม (Pkm) และชุดดินไชยา (Cya)

                                   (1.4)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินทราย เนื้อดินทั้งบนและลางเปนดินทราย หรือดินทราย
                  ปนดินรวน ไดแก ชุดดินวัลเปรียง (Wp) และชุดดินบางละมุง (Blm)

                                   (1.5)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินตื้น เนื้อดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนทราย
                  หรือดินรวนเหนียว ดินลางเปนดินรวน ดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว มีกรวดหรือลูกรังปะปนปริมาณ

                  เทากับหรือมากกวารอยละ 35 โดยปริมาตร ไดแก ชุดดินทุงคาย (Tuk)
                               (2)  ดินในพื้นที่ดอนที่อยูในเขตดินชื้น ดินมีชวงแหงติดตอกันนอยกวา 45   วัน

                  หรือดินแหงรวมกันนอยกวา 90  วันในรอบป มีการทําการเกษตรบริเวณสันดินริมน้ํา ลานตะพักลําน้ํา
                  ที่ราบเชิงเขา เนินเขา พื้นที่เหลือคางจากการกัดกรอน และภูมิประเทศคาสต สภาพพื้นที่มีตั้งแต
                  ราบเรียบ เปนลูกคลื่น เนินเขาและพื้นที่สูงชัน ระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 2 เมตร การระบายน้ําดี

                  ปานกลาง ดี หรือดีมากเกินไป ดินมี สีน้ําตาลปนเทา สีน้ําตาล สีเหลือง สีแดง อาจพบจุดประสีเล็กนอย
                  ปฏิกิริยาดินมีตั้งแตเปนกรดจัดถึงเปน  กรดเล็กนอย ความอุดมสมบูรณต่ํา จําแนกตามกลุมเนื้อดิน

                  อยางกวางๆ ได 4 กลุม ดังนี้
                                   (2.1)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินเหนียว เนื้อดินบนเปนดินรวน ดินรวนเหนียวปนทราย
                  แปงหรือดินเหนียว ดินลางเปนดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแปง ไดแก ชุดดินกระบี่ (Kbi) ชุดดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46