Page 42 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 42

3-16





                  โคกกลอย (Koi)  ชุดดินลําภูรา (Ll)  ชุดดินปากจั่น (Pac)  ชุดดินพังงา (Pga)  ชุดดินภูเก็ต (Pk)  ชุดดิน

                  ทายเหมือง (Tim)   ชุดดินอาวลึก (Ak) ชุดดินนาทอน (Ntn) ชุดดินปาดังเบซาร (Pad) ชุดดินตราด (Td)
                  และชุดดินตรัง (Tng)

                                   (2.2)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินรวน เนื้อดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนทราย ดินรวน
                  ปนทรายแปง ดินลางเปนดินรวน ดินรวนเหนียว ดินรวนปนทราย ดินรวนเหนียวปนทราย

                  หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง ไดแก ชุดดินลําแกน (Lam) ชุดดินรือเสาะ (Ro) ชุดดินตาขุน (Tkn) ชุดดิน
                  ฉลอง (Chl)  ชุดดินฝงแดง (Fd)  ชุดดินควนกาหลง (Kkl)  ชุดดินคลองทอม (Km)  ชุดดินคลองนกกระทุง

                  (Knk)  ชุดดินละหาน (Lh)  ชุดดินทาแซะ (Te)  ชุดดินคอหงษ (Kh)  ชุดดินนาทวี (Nat)  ชุดดินสะเดา (Sd)
                  ชุดดินทุงหวา (Tg) ชุดดินนาทาม (Ntm) ชุดดินพะโตะ (Pto) และชุดดินสวี (Sw)
                                   (2.3)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินทราย เนื้อดินทั้งบนและลางเปนดินทราย หรือดินทราย

                  ปนดินรวน ไดแก ชุดดินบานทอน (Bh)  ชุดดินบาเจาะ (Bc)  ชุดดินหัวหิน (Hh)  และชุดดินหลังสวน
                  (Lan)

                                   (2.4)  กลุมเนื้อดินที่เปนดินตื้น เนื้อดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนทราย
                  หรือดินรวนเหนียว ดินลางเปนดินรวน ดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว มีกรวดหรือลูกรังปะปนปริมาณ

                  เทากับหรือมากกวารอยละ 35    โดยปริมาตร หรือถึงชั้นหินพื้น หรือชั้นมารล ภายในความลึก
                  50  เซนติเมตรจากผิวดิน ไดแก ชุดดินชุมพร (Cp)  ชุดดินหาดใหญ (Hy)  ชุดดินคลองซาก (Kc)  ชุดดิน

                  เขาขาด (Kkt)  ชุดดินหนองคลา (Nok)  ชุดดินทาฉาง (Tac)  ชุดดินยะลา (Ya)  ชุดดินหวยยอด (Ho)
                  ชุดดินคลองเต็ง (Klt) และชุดดินระนอง (Rg)
                               (3)  ดินในพื้นเบ็ดเตล็ด ไดแก พื้นที่เลี้ยงสัตวน้ํา (AQ)  หาด (B)  เกาะ (ISLAND)

                  คอกปศุสัตว (LF)  ที่ลุมชื้นแฉะ (MAR)  ที่ดินเหมืองแร (MiL)  ที่ดินดัดแปลง (MML)  บอขุด (P)  พื้นที่
                  ชุมชนและสิ่งปลูกสราง (U)  พื้นที่น้ํา (W)  และที่ลาดชันเชิงซอน (SC)  ซึ่งเปนดินบริเวณพื้นที่ภูเขาสูง

                  มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต
                               สถานภาพทรัพยากรดิน

                                  จากขอมูลทรัพยากรดิน จังหวัดสุราษฏรธานี ดังกลาว พบดินที่มีปญหาเฉพาะ
                  ทางการเกษตร เนื้อที่ 623,937 ไร หรือรอยละ 7.74 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญพบดินที่มีปญหาเฉพาะ

                  ทางการเกษตรมากที่สุดในบริเวณพื้นที่อําเภอทาฉาง รองลงมาเปนอําเภอพุนพิน และอําเภอเมือง
                  สุราษฎรธานี ตามลําดับ จําแนกเปน 4 ประเภท ดังนี้ (ตารางที่ 3 -2 และรูปที่ 3 - 2)

                                  (1)  ดินเค็มชายทะเล เนื้อที่ 117,257 ไร หรือรอยละ 1.45 ของเนื้อที่จังหวัด
                  เกิดจากอิทธิพลของน้ําทะเลทวมถึงหรือเคยทวมมากอน พบในบริเวณที่มีสภาพพื้นที่เปนที่ลุมน้ําทะเล

                  ทวมถึง วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําทะเลและน้ํากรอย ดินบริเวณนี้จะมีความชื้นของดินสูง
                  และมีความเค็มสูง พืชพรรณที่ขึ้นในบริเวณนี้เปนไมชายเลน ทนเค็มไดดี เชน โกงกาง แสม ลําพู เปนตน

                  บริเวณที่น้ําทะเลเคยทวมถึง เกิดจากตะกอนน้ําทะเลและตะกอนน้ํากรอย เปนดินมีความเหนียวสูง
                  บางแหงอาจพบชั้นทรายและเปลือกหอยในดินชั้นลาง พบดินเค็มชายทะเล บริเวณพื้นที่ที่ติดกับอาวไทย
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47