Page 34 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 34

3-6


                           สงเสริมและสนับสนุนการใชเทคโนโลยีการเพิ่มผลิตภาพ ลดการใชสารเคมี สงผลใหลดตนทุน

               การผลิตยางพารา ปาลมน้ํามัน ไมผล
                           ใหเกษตรกรรายยอยปรับระบบการผลิตเปนเกษตรผสมผสาน หรือเกษตรทฤษฎีใหม ตามหลัก

               ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                           การกอสรางตลาดกลางเพื่อรวบรวมและกระจายผลิตผลทางการเกษตรรวม ทั้งเพิ่มอํานาจ

               ตอรอง
                           ดานการทองเที่ยว พัฒนาศักยภาพของแหลงทองเที่ยวเพื่อรองรับการทองเที่ยว รวมทั้ง กอสราง
               ศูนยจําหนายสินคาหรือผลิตภัณฑจากชุมชน เพื่อใหประชาชนมีรายไดเสริม นอกเหนือจากการทําการเกษตร

               ซึ่งเปนอาชีพหลัก
                           แผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎรธานี ดังกลาว มีเปาประสงคตองการเพิ่มศักยภาพพัฒนาเศรษฐกิจ
               ดานการเกษตร มีฐานทรัพยากรธรรมชาติและบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน มียุทธศาสตรที่สอดคลอง

               และเชื่อมโยงกับบทบาทหนาที่ของกรมพัฒนาที่ดิน และการวางแผนการใชที่ดินระดับจังหวัด ดังนี้
                           ยุทธศาสตรที่ 1 การเพิ่มศักยภาพการแขงขันภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม ซึ่งมีเปาประสงค
               เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจของยางพาราและปาลมน้ํามันใหสูงขึ้น และสินคาเกษตร   มีคุณภาพ ปลอดภัย

               ระดับมาตรฐาน โดยพัฒนาภาคการผลิตและอุตสาหกรรมยางพารา ปาลมน้ํามันแบบครบวงจร (การผลิต การ
               แปรรูป การตลาด) เพื่อเพิ่มมูลคาและศักยภาพในการแขงขัน สงเสริม  และพัฒนายกระดับมาตรฐานสินคา

               เกษตร
                           ยุทธศาสตรที่ 5 การสรางฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและมีสภาพแวดลอมที่เหมาสม
               ซึ่งมีเปาประสงคใหพื้นที่ปายังคงความอุดมสมบูรณและมีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น ชุมชนเสี่ยงภัย มีความพรอม

               ในการจัดการภัยพิบัติและสาธารณภัย โดยสงเสริมการมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
               ใหมีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงและเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการภัยพิบัติและสาธารณภัย

               3.3  การวิเคราะหขอมูล
                     3.3.1 ทรัพยากรธรรมชาติ
                           (1)  ทรัพยากรปาไม

                               (1.1)  พื้นที่ปาไมตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี
                                     (1.1.1)  ปาสงวนแหงชาติ 26 ปา มีพื้นที่ปาสงวนแหงชาติบางสวนทับซอนกับ
               อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปา ที่ราชพัสดุ ตลอดจนสงมอบใหสํานักงานการปฏิรูป

               ที่ดินเพื่อการเกษตร
                                     (1.1.2)  อุทยานแหงชาติ 7 แหง คือ  อุทยานแหงชาติเขาสก  อุทยานแหงชาติ
               แกงกรุง อุทยานแหงชาติคลองพนม อุทยานแหงชาติน้ําตกสี่ขีด อุทยานแหงชาติใตรมเย็น อุทยานแหงชาติ
               หมูเกาะอางทอง และอุทยานแหงชาติธารเสด็จ - เกาะพะงัน

                                     (1.1.3)  เขตรักษาพันธุสัตวปา 4 แหง คือ เขตรักษาพันธุสัตวปาคลองยัน เขตรักษา
               พันธุสัตวปาคลองแสง เขตรักษาพันธุสัตวปาคลองพระยา และเขตรักษาพันธุสัตวปาคลองนาคา
                                     (1.1.4)  เขตหามลาสัตวปา 2 แหง คือ เขตหามลาสัตวปาเขาทาเพชร และเขตหาม
               ลาสัตวปาหนองทุงทอง

                                     (1.1.5)  สวนรุกชาติ 1 แหง คือ สวนรุกชาติเขาพุทธทอง
                                     (1.1.6)  ปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรีนอกเขตปาสงวนแหงชาติ 9 ปา
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39