Page 35 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 35

3-7


                               (1.2)  ชนิดของปาไม

                                     (1.2.1)  ปาดิบชื้น พบในบริเวณแนวเทือกเขา ทางทิศตะวันตกของจังหวัด
               ครอบคลุมเขตปาอนุรักษ เชน  อุทยานแหงชาติแกงกรุง  อุทยานแหงชาติเขาสก  อุทยานแหงชาติคลองพนม
               เขตรักษาพันธุสัตวปา ทั้ง 4 แหง นอกจากนี้ ยังพบปาดิบชื้นบริเวณแนวเทือกเขาทางทิศตะวันออกเฉียงใตของ

               จังหวัด ในเขตปาอนุรักษ ครอบคลุมอุทยานแหงชาติใตรมเย็น และอุทยานแหงชาติน้ําตกสี่ขีด  (บางสวน)
               สภาพปามีความอุดมสมบูรณ มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง พืชที่พบ ไดแก ไผ เถาวัลย ยาง ตะเคียนทอง

               ไขเขียว ตะเคียนทราย พะยอมทราย และหลุมพอ เปนตน
                                     (1.2.2)  ปาดิบแลง สวนมากพบตามหมูเกาะทางทิศตะวันออกของจังหวัด และพื้นที่

               สวนใหญอยูในเขตปาอนุรักษ ไดแก อุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง อุทยานแหงชาติธารเสด็จ - เกาะพะงัน
               รวมทั้งบางสวนของอุทยานแหงชาติเขาสก พบในพื้นที่ที่มีการผุสลายของหินปูนกลายเปนดินที่มีอินทรียวัตถุสูง

               แตชั้นดินตื้น ทําใหกักเก็บน้ําไดไมมากนัก ตนไมมีขนาดเล็กและความสูงนอย พืชที่พบ ไดแก  หวายกําพวน
               หวายแดง หวายเล็ก หวายปูเจา หวายขี้ไก หวายผึ้ง หวายขี้เสี้ยน เปนตน
                                     (1.2.3)  ปาชายเลน พบมากที่สุดบริเวณอาวบานดอน ขึ้นเปนแนวแคบๆ ประมาณ

               50-100  เมตรจากฝงทะเล และตามริมลําแมน้ําตาปและลําน้ําสาขา พืชที่พบ เชน โกงกางใบใหญ โกงกาง
               ใบเล็ก แสม ลําพู ลําแพน ถั่วขาว เปนตน

                                     (1.2.4)  ปาชายหาด พบตามริมชายทะเลของเกาะตางๆ ทางทิศตะวันออกของ
               จังหวัด เปนปาโปรงที่มีพันธุไมปลัดใบขึ้นอยูบริเวณแคบๆ ตามชายหาดที่มีดินเปนดินทราย และบริเวณเชิงเขา
               ชายทะเลทั่วไป พันธุไมที่พบจัดเปนพืชทนเค็มเชน หูกวาง สนทะเล โพทะเล จิกทะเล และรักทะเล เปนตน

                                     (1.2.5)  ปาพรุ เปนพื้นที่ชุมน้ําที่สําคัญแหงหนึ่งของประเทศ ตั้งอยูที่ตําบลคันธุลี
               อําเภอทาชนะ มีชื่อวา ปาพรุคันทุลี เนื้อที่ประมาณ 875 ไร การสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพเบื้องตน

               พบวามีพรรณพืชอยางนอย 36 ชนิด เปนพืชเฉพาะถิ่นที่มีลักษณะพิเศษ ทําใหสามารถดํารงชีวิตอยูในปาพรุได
               เชน หลุมพอ หลาวชะโอน เถาวัลย หมากแดง กระพอ ระกํา และยานลําเภา เปนตน

                           (2)  ทรัพยากรดิน
                               ทรัพยากรดินจังหวัดสุราษฏรธานี มีหนวยแผนที่ดิน 249 หนวย แบงออกได 3 ประเภท
               ประกอบดวย หนวยดินเดี่ยว 177 หนวย หนวยดินเชิงซอน 9 หนวย และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด 6 หนวย

               (คําอธิบายหนวยแผนที่ดินและสมบัติดิน แสดงไวในภาคผนวกที่ 2) โดยสรุปเปนประเภทชุดดินและพื้นที่
               เบ็ดเตล็ดของหนวยแผนที่ดินไวในตารางที่ 3 - 1 และรูปที่ 3- 1
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40