Page 32 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 32

3-4


                             (4)  สงเสริมและเรงขยายผลแนวคิดการทําเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
               โดยสงเสริมขยายผลและพัฒนาการผลิตในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ควบคุมการใชสารเคมีการเกษตรที่เปน

               อันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด
                              ยุทธศาสตรที่ 4 การเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน
               มีแนวทางการพัฒนาภาคการเกษตรและสามารถผลักดันสูการปฏิบัติ คือ สงเสริมการผลิตและการบริโภค
               ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยดําเนินการสนับสนุนการปรับเปลี่ยนการผลิตพืชเชิงเดี่ยวไปสูเกษตรกรรมที่ยั่งยืน

               เชน เกษตรธรรมชาติ เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย เกษตรทฤษฎีใหม สนับสนุนการพัฒนาปุยอินทรีย
               การใชวัสดุอินทรียและการใชผลิตภัณฑชีวภาพแทนการใชสารเคมีทางการเกษตร
                            (6)  นโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ
               (พ.ศ. 2560 - 2579) ไดกําหนดยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาเกี่ยวของและเชื่อมโยงกับบทบาทหนาที่

               ของกรมพัฒนาที่ดิน และการวางแผนการใชที่ดินระดับจังหวัด ดังนี้
                                ยุทธศาสตรที่ 2  ดานใชที่ดินและทรัพยากรดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด  ใหมีการใช
               ประโยชนที่ดินที่เหมาะสมกับศักยภาพของที่ดิน ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ
               และความมั่นคงของประเทศ มีเปาหมาย ดังนี้

                                (1)  ที่ดินที่มีการใชประโยชนไมเหมาะสมกับศักยภาพและสมรรถนะของที่ดินลดลง
                                (2)  ที่ดินที่ถูกทิ้งรางหรือไมไดใชประโยชนลดลง
                                (3)  ที่ดินมีปญหาไดรับการฟนฟูคุณภาพ เพื่อนํามาใชประโยชนที่เหมาะสมกับสมรรถนะ

               ของดินและสภาพของที่ดิน
                                (4)  พื้นที่เกษตรกรรมที่มีการทําการเกษตรตามแนวทางเกษตรอยางยั่งยืนเพิ่มขึ้น
               โดยมีกลยุทธการดําเนินงาน ดังนี้
                                     กลยุทธที่ 2.1 การเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดินของรัฐและเอกชนใหเกิด
               ประโยชนสูงสุด

                                                 2.1.1 วางแผน กําหนดเปาหมาย และสัดสวนของการใชประโยชน
               ที่ดินของประเทศ ใหมีความเหมาะสมอยางเปนระบบ ตามศักยภาพของที่ดินและสมรรถนะของดิน
               โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ

                                                 2.1.3 กําหนดเขตและมาตรการการใชประโยชนที่ดิน ทั้งใน
               ระดับประเทศ ระดับลุมน้ํา และระดับจังหวัด ใหมีความสัมพันธและสอดคลองกัน
                                     กลยุทธที่ 2.2 การเสริมสรางฐานการผลิตภาคเกษตรกรรมใหเขมแข็งและยั่งยืน
               เพื่อสรางความมั่นคง

                                                 2.2.2 พัฒนาศักยภาพพื้นที่เกษตรกรรม ในการเพิ่มปริมาณผลผลิต
               และลดตนทุน โดยอาศัยองคความรูทางวิชาการดานการเกษตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม
                                                 2.2.3 สงเสริม สนับสนุน การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตจาก
               พืชเชิงเดี่ยวไปสูรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืน ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เกื้อกูลกับระบบนิเวศและสอดคลองกับ

               การอนุรักษดินและน้ํา
                                                 2.2.4 ฟนฟู ปรับปรุง คุณภาพดินที่เสื่อมโทรม ขาดความอุดม
               สมบูรณและแกไขปญหาการชะลางพังทลายของดิน เพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยในการทําการเกษตร
               และเสริมสรางความมั่นคงทางอาหาร
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37