Page 33 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 33

3-5


                                                 2.2.5 คุมครองพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพ และขยายโอกาส
               ในการเขาถึงพื้นที่ทํากินของเกษตรกรใหมากขึ้น เพื่อใหเปนฐานการผลิตการเกษตรที่ยั่งยืน

                                ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน มีเปาหมาย ดังนี้
                                (1)  มีองคกรบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินที่มีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ
                                (2)  มีกลไก เครื่องมือ องคความรูที่สนับสนุนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน
               โดยมีกลยุทธการดําเนินงาน ดังนี้

                                     กลยุทธที่ 4.1 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินใหมี
               ประสิทธิภาพ
                                                 4.1.1 จัดตั้งองคกรระดับนโยบาย ทําหนาที่กําหนดนโยบาย
               ประสานและบูรณการ การบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินในภาพรวมของประเทศใหมีเอกภาพ

               สอดคลองไปในทิศทางเดียวกัน
                                                 4.1.2 พัฒนาศักยภาพของหนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของกับที่ดิน
               และทรัพยากรดิน เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินไปสูการปฏิบัติ
                                                 4.1.3 สงเสริม สนับสนุนกระบวนการมีสวนรวมในการบริหารจัดการ

               ที่ดินและทรัพยากรดินของภาคีทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ
                                     กลยุทธที่ 4.2 การพัฒนาเครื่องมือ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดิน
               และทรัพยากรดินใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม

                                                 4.2.3 เรงรัด พัฒนาระบบฐานขอมูลที่ดินและทรัพยากรดิน
               การจัดทําแผนที่กําหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ โดยมีกฎหมายรองรับ
                            (7)  แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย (พ.ศ. 2561 - 2564) ฉบับทบทวน มีเปาหมาย
               การพัฒนาเกี่ยวของกับกรมพัฒนาที่ดิน และการวางแผนการใชที่ดินระดับจังหวัด ดังนี้
                                (7.1)  เปาหมายการพัฒนาดานที่ 1 การพัฒนาการเกษตร ดานการผลิต แปรรูป

               การตลาดและการบริหารจัดการพืชเศรษฐกิจหลัก (ยางพารา ปาลมน้ํามัน ขาว ไมผล) การประมง และปศุสัตว
               มีแนวทางการพัฒนาหรือกลยุทธการดําเนินงาน คือ บริหารจัดการพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา ปาลมน้ํามัน ขาว
               ไมผล) อยางครบวงจร (การผลิตขั้นตนการวิจัย การแปรรูป การหาชองทางการตลาด) เพื่อลดตนทุนการผลิต

                                (7.2)  เปาหมายการพัฒนาดานที่ 5 การพัฒนาสูเมืองสีเขียวและสังคมคุณภาพ มีแนวทาง
               การพัฒนาหรือกลยุทธการดําเนินงาน คือ  อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่นยืน
               เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการการใชทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มความปลอดภัย ลดความเสี่ยง จากภัยพิบัติ
               และสาธารณภัย

                            (8)  แผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎรธานี (พ.ศ. 2561 -2565) ฉบับทบทวน
                                เปาหมายการพัฒนาจังหวัดสุราษฎรธานี
                                 “เมืองเกษตรคุณภาพ การทองเที่ยวยั่งยืน สังคมเปนสุข”
                           แผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎรธานี (พ.ศ. 2561 - 2565)  ฉบับทบทวน ไดสรุปประเด็นปญหา

               และความตองการทางเศรษฐกิจไวดังนี้
                           ปญหาที่พบเปนผลจากราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ําอยางตอเนื่อง ผลผลิตต่ํา อีกทั้งไมได

               มาตรฐาน ประกอบกับตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น ทําใหประชาชนไดรับความเดือดรอน ความตองการใหภาครัฐ
               ชวยเหลือ ประกอบดวย

                           ดานองคความรูในการประกอบอาชีพเพื่อลดตนทุน เชน อบรมการผสมปุยตามคาวิเคราะหดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38