Page 25 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 25

2-13





                            (4)  พื้นที่น้ํา  (W)  เนื้อที่ 194,702  ไร หรือรอยละ  2.42  ของเนื้อที่จังหวัด  ประกอบดวย

               แหลงน้ําตามธรรมชาติ  ไดแก แมน้ํา ลําหวย ลําคลอง หนอง บึง และทะเล และแหลงน้ําที่มนุษยสรางขึ้น
               ไดแก อางเก็บน้ํา บอน้ําในไรนา และคลองชลประทาน

                            (5)  พื้นที่เบ็ดเตล็ด  (M)  เนื้อที่  179,224  ไร หรือรอยละ  2.24  ของเนื้อที่จังหวัด
               ประกอบดวยทุงหญาและไมละเมาะ  (M1)  พื้นที่ลุม (M2)  เหมืองแร  บอขุด (M3) พื้นที่เบ็ดเตล็ด (M4)

               หาดทราย (M6) และที่ทิ้งขยะ (M7)
                     2.6.2  พืชที่สําคัญของจังหวัดสุราษฎรธานี
                           (1)  พืชที่มีขอบงชี้ทางภูมิศาสตรที่รับรองโดยประชาคมยุโรป(EU) (Geographical Indication

               crops; GI crops) ไมมี
                           (2)  พืชที่มีคุณภาพระดับพรีเมียม แตยังไมไดรับรองอยางเปนทางการจากประชาคมยุโรป
               (EU) ใหเปนพืช GI (Distinct crops) ไดแก เงาะโรงเรียนนาสาร
                           (3)  พืชอัตลักษณของจังหวัด (Signature crops)  ไดแก  ยางพารา ปาลมน้ํามัน ทุเรียน

               มะพราวเกาะสมุย
                           (4)  พืชที่มีอนาคต ทั้งดานคุณภาพ การตลาด เศรษฐกิจ (Promising crops) ไดแก ไผ ไมยืน
               ตนโตเร็ว สมุนไพร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30