Page 24 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 24

2-12





               2.6  สภาพการใชที่ดิน

                     2.6.1  สภาพการใชที่ดินทั่วไป  ในป 2561  จังหวัดสุราษฎรธานี  มีการใชที่ดิน 5 ประเภท

               ประกอบดวย พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม พื้นที่น้ํา และพื้นที่เบ็ดเตล็ด
               โดยแตละประเภทการใชที่ดิน มีรายละเอียดของพื้นที่ปลูกเปนรายชนิดพืช แสดงไวในภาคผนวกที่ 1
               และสรุปประเภทการใชที่ดินไดดังนี้ (ตารางที่ 2 - 2 และรูปที่ 2 - 3)

                            (1)  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง (U) เนื้อที่ 254,681 ไร หรือรอยละ 3.17 ของเนื้อที่จังหวัด
               ประกอบดวย ตัวเมืองและยานการคา หมูบาน  สถานที่ราชการและสถาบันตางๆ  สถานีคมนาคม พื้นที่

               อุตสาหกรรม สิ่งปลูกสรางอื่นๆ และสนามกอลฟ
                            (2)  พื้นที่เกษตรกรรม (A) เนื้อที่ 5,005,676  ไร หรือรอยละ  62.10  ของเนื้อที่จังหวัด
               ประกอบดวย

                                (2.1)  พื้นที่นา (A1) เนื้อที่ 28,962  ไร หรือรอยละ 0.36 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญ
               เปน      พื้นที่นาราง

                                (2.2)  พืชไร (A2) เนื้อที่ 2,840  ไร หรือรอยละ 0.04 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญเปน
               พื้นที่ปลูกสัปปะรด

                                (2.3)  ไมยืนตน (A3) เนื้อที่ 4,596,237  ไร หรือรอยละ 57.05 ของเนื้อที่จังหวัด สวน
               ใหญเปนพื้นที่ปลูกยางพารา

                                (2.4)  ไมผล (A4) เนื้อที่ 287,253 ไร หรือรอยละ 3.54 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญเปน
               พื้นที่ปลูกมะพราว
                                (2.5)  พืชสวน (A5) เนื้อที่ 1,808 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญเปน

               พื้นที่ปลูกพืชผัก
                                (2.6)  ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว (A7) เนื้อที่ 2,462 ไร หรือรอยละ 0.03

               ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญเปนพื้นที่โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก
                                (2.7)  พืชน้ํา (A8) เนื้อที่ 18 ไร เปนพื้นที่ปลูกบัว ล

                                (2.8)  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (A9) เนื้อที่ 85,043  ไร หรือรอยละ 1.05 ของเนื้อที่
               จังหวัด สวนใหญเปนสถานที่เพาะเลี้ยงกุง

                                (2.9)  เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม (A0) เนื้อที่ 1,053  ไร หรือรอยละ 0.01 ของ
               เนื้อที่จังหวัด
                            (3)  พื้นที่ปาไม (F) เนื้อที่ 2,422,885 ไร หรือรอยละ 30.07 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย

               ปาไมผัดใบ (F1) ปาชายเลน (F3) ปาพรุ (F4) และปาปลูก (F5) โดยจําแนกเปนปาสมบูรณ (F01) เนื้อที่
               2,378,291 ไร หรือรอยละ 29.52 ของเนื้อที่จังหวัด และปารอสภาพพื้นฟู (F00)  เนื้อที่ 44,594 ไร

               หรือรอยละ 0.55 ของเนื้อที่จังหวัด
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29