Page 23 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 23

2-11


                     ชวงขาดน้ํา  เปนชวงฤดูแลงที่เสี่ยงตอการขาดน้ํา อยูระหวาตนเดือนมกราคมถึงปลายเดือนกุมภาพันธ
               ปริมาณน้ําฝนเริ่มลดลงจากเดือนธันวาคมอยางชัดเจน จนต่ําสุดในเดือนกุมภาพันธ ซึ่งเปนเดือนที่มีปริมาณ

               น้ําฝนต่ําที่สุดในรอบป เปนชวงที่เกษตรกรตองจัดหาแหลงน้ําสํารองไวลวงหนา เพื่อบรรเทาผลกระทบจาก
               การที่พืชผลทางการเกษตรไดรับผลกระทบจากภัยแลง

                 ปริมาณน้ําฝน การระเหยและการคายน้ําอางอิง (มม.)


                  350
                  300                       ปริมาณน้ําฝน
                                            ศักยภาพการคายระเหยน้ําอางอิง
                                            0.5 ศักยภาพการคายระเหยน้ําอางอิง
                  250
                  200

                  150

                  100

                   50

                    0                                                                                  เดือน
                       ม.ค.   ก.พ.    มี.ค.   เม.ย.    พ.ค.    มิ.ย.    ก.ค.    ส.ค.    ก.ย.    ต.ค.    พ.ย.    ธ.ค.    ม.ค.
                          ชวงขาดน้ํา
                                                          ชวงน้ํามากเกินพอ
                                                          ชวงเพาะปลูกพืช


               รูปที่ 2 - 2 สมดุลของน้ําเพื่อการเกษตร จังหวัดสุราษฎรธานี
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28