Page 18 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 18

2-6


               2.2  ที่ตั้งและอาณาเขต

                     จังหวัดสุราษฎรธานี ตั้งอยูบนฝงตะวันออกของภาคใต หางจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถยนต
               ประมาณ 644 กิโลเมตร  มีเนื้อที่ประมาณ 12,891.469 ตารางกิโลเมตร หรือ 8,057,168 ไร มีเนื้อที่มากเปน
               อันดับ 6 ของประเทศ และมีเนื้อที่มากที่สุดในภาคใต ฝงทะเลดานอาวไทยในจังหวัดสุราษฎรธานี มีความยาว
               ประมาณ 156 กิโลเมตร มีเกาะขนาดใหญ ไดแก เกาะสมุย เนื้อที่ 227.25 ตารางกิโลเมตร เกาะพะงัน มีเนื้อที่

               194.2 ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีหมูเกาะอางทอง และเกาะบริวาร 42 เกาะ เกาะสมุยเปนเกาะที่ใหญ
               ที่สุดในจังหวัด หางจากฝงทะเลประมาณ 20 กิโลเมตร และหางจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 80 กิโลเมตร
               จังหวัดสุราษฎรธานี มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดอื่นๆ ดังนี้ (รูปที่ 2 - 1)
                         ทิศเหนือ        ติดตอ  จังหวัดชุมพร และอาวไทย

                         ทิศใต          ติดตอ  จังหวัดกระบี่ และจังหวัดนครศรีธรรมราช
                         ทิศตะวันออก     ติดตอ  จังหวัดนครศรีธรรมราช
                         ทิศตะวันตก      ติดตอ  จังหวัดระนอง และจังหวัดพังงา
                     จังหวัดสุราษฎรธานี แบงเขตการปกครองออกเปน 19 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองสุราษฎรธานี อําเภอ

               กาญจนดิษฐ อําเภอดอนสัก อําเภอเกาะสมุย อําเภอเกาะพะงัน อําเภอไชยา อําเภอทาชนะ อําเภอคีรีรัฐนิคม
               อําเภอบานตาขุน อําเภอพนม อําเภอทาฉาง อําเภอบานนาสาร อําเภอบานนาเดิม อําเภอเคียนซา อําเภอ
               เวียงสระ อําเภอพระแสง อําเภอพุนพิน อําเภอชัยบุรี และอําเภอวิภาวดี

               2.3  การคมนาคม
                     จังหวัดสุราษฎรธานี มีสภาพที่ตั้งเปนศูนยกลางซึ่งสามารถเชื่อมโยงภาคใตตอนบน กับภาคใตตอนลาง
               และเชื่อมโยงทะเลฝงอันดามัน และฝงอาวไทย โดยมีโครงขายการคมนาคม ดังนี้ (รูปที่ 2-1)

                     2.3.1 ทางน้ํา การคมนาคมทางน้ําในจังหวัดสุราษฎรธานี มีเรือโดยสารวิ่งรับสงในแมน้ําตาป
               และมีการคมนาคมขนสงสินคาทางทะเลจากกรุงเทพมหานคร มายังจังหวัดสุราษฎรธานี และระหวางอําเภอ
               เมืองสุราษฎรธานีกับอําเภอเกาะสมุย และอําเภอเกาะพะงัน
                     2.3.2 ทางรถไฟ เสนทางรถไฟสายใตผานทุกขบวน มีทั้งสถานีขนสงผูโดยสารและลานขนสงสินคา

               แหงเดียวในภาคใต รถไฟสายใตทุกขบวนผานสถานีสุราษฎรธานี ในเขตอําเภอพุนพิน ระยะทาง
               กรุงเทพมหานคร-สุราษฎรธานี ประมาณ 650 กิโลเมตร (สถานีรถไฟสุราษฎรธานีอยูหางจากอําเภอเมือง
               สุราษฎรธานี 14 กิโลเมตร)
                     2.3.3 ทางรถยนต การเดินทางระหวางจังหวัดสุราษฎรธานีกับกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกลเคียง

               มีความสะดวก เสนทางที่สําคัญ คือ ทางหลวงแผนดินหมายเลข 41 แยกจากถนนเพชรเกษมที่จังหวัดชุมพร
               เขาสูจังหวัดสุราษฎรธานี ตอไปยังจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา แยกเขาสูตัวเมืองสุราษฎรธานีที่อําเภอ
               พุนพิน โดยใชทางหลวงแผนดินหมายเลข 401 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 44 หรือถนนเซาทเทิรน

               เชื่อมอําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี และอําเภออาวลึก จังหวัดกระบี่ และมีเสนทางหลักเชื่อมโยง
               จังหวัดในภูมิภาค เปนถนน 4 ชองทางจราจร  และมีโครงขายมาตรฐานเชื่อมทุกพื้นที่อําเภอ
                     2.3.4 ทางเครื่องบิน เปนจังหวัดที่มีทาอากาศยาน 2 แหง คือ ทาอากาศยานสุราษฎรธานี
               และเกาะสมุย มีเสนทางบินเชื่อมโยงทั้งในประเทศและตางประเทศ
               2.4  สภาพภูมิประเทศ

                     ลักษณะภูมิประเทศประมาณรอยละ 35 ของจังหวัดสุราษฎรธานี เปนภูเขา ภูเขาสําคัญของจังหวัด
               สุราษฎรธานี ไดแก เทือกเขาบรรทัด เทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งทอดยาวผานจังหวัดใกลเคียงหลายจังหวัด

               และทอดเปดสูอาวไทย เทือกเขาภูเก็ตดานตะวันตก เปนตนกําเนิดลุมน้ําใหญนอย รวม 14 ลุมน้ํา จนไดชื่อวา
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23