Page 134 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 134

4-18





                  ตารางที่ 4-2   (ต่อ)


                         มาตรการวิธีกล                       สภาพพื้นที่และปัจจัยประกอบ
                  คูรับน้ าขอบเขา (hillside   เหมาะกับพื้นที่ลาดเทน้อยกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ ถ้าใช้กับขั้นบันไดดิน
                  ditches)                    แบบลาดเอียงออกหรือแถบหญ้าจะสามารถใช้ได้ในพื้นที่ลาดเท
                                              มากกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ และถ้าพื้นที่ระหว่างคูรับน้ าขอบเขามีการ

                                              ปลูกหญ้ารูซี่ หญ้าบาเฮีย หญ้าคอสตอลเบอร์มิวด้าและหญ้าเจ้าชู้ คู
                                              รับน้ าขอบเขานี้จะสามารถใช้ในพื้นที่ที่มีความลาดเทได้ถึง 55
                                              เปอร์เซ็นต์

                  ฐานปลูกไม้ผลเฉพาะต้น        ใช้กับพื้นที่ความลาดชันต่ าถึงลาดชันสูง ใช้ร่วมกับคูรับน้ าขอบเขา
                  (individual basin)          และดินมีการซึมน้ าเร็ว ใช้กับพื้นที่ที่เป็นสวนผลไม้เก่าที่ปลูกพืชไป
                                              แล้วโดยไม่ได้วางระดับ
                  คันชะลอความเร็วของน้ า      ใช้กับพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายแบบร่องลึก หรือในทางระบายน้ า

                  (check dam)
                  ทางระบายน้ า (waterways)    ส าหรับพื้นที่ที่มีความลาดชันต่ าอาจปลูกหญ้าคลุมดินเพื่อชะลอ
                                              ความเร็วของน้ าและรักษาทางระบายน้ า

                  บ่อดักตะกอน (sediment       สร้างเหนือพื้นที่อ่างเก็บน้ าก่อนที่จะไหลลงสู่อ่างเก็บน้ า
                  trap)
                  บ่อน้ าในไร่นา (farm pond)    ใช้ส าหรับพื้นที่ลุ่มมีน้ าขังโดยขุดตรงจุดต่ าสุดเพื่อกักเก็บน้ า ในพื้นที่ที่
                                              มีน้ าไหลมาก็ท าคันกั้นปิดมากักเก็บไว้

                  ทางล าเลียงในไร่นา (farm    ใช้กับพื้นที่ความลาดเท 2-12 เปอร์เซ็นต์
                  road)

                  ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2544)




                                          (1) แบบมาตรฐานการอนุรักษ์ดินและน้ าวิธีกลของกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งกรมพัฒนาที่ดิน
                  ได้ก าหนดแบบมาตรฐานระบบอนุรักษ์ดินและน้ าไว้หลายวิธี ดังนี้
                                              (1.1) คันดินมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งได้ก าหนดมาตรฐานของคันดิน

                  ออกเป็น 6 แบบ ได้แก่ คันดินเบนน้ า (diversion) คันดินเก็บกักน้ า (absorption Bank) คันดินฐาน
                  กว้าง (broad based terrace) คันดินฐานแคบ (narrow Based Terrace) และคันคูรับน้ าขอบเขา
                  (hillside ditch)  2 ลักษณะ ที่ใช้กับพื้นที่ที่มีความลาดเทมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้คันดินแต่ละแบบ

                  นั้นผู้ใช้สามารถปรับรูปแบบของคันดินให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ต่างๆ ได้ โครงสร้างมาตรฐานของคัน
                  ดินแต่ละแบบ มีดังนี้
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139