Page 135 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 135

5-11





                                       - การเพิ่มศักยภาพพื้นที่ตามแนวทางการพัฒนาเขตท านา โดยจัดให้มีแหล่งน้ า/บ่อ

                  น้ าในไร่นา เพื่อกักเก็บน้ าลดความเสียหายกรณีฝนทิ้งช่วง

                                       - ส่งเสริมความร่วมมือภาคธุรกิจเอกชนด้านอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตผลทาง
                  การเกษตร ร่วมทุนในรูปแบบ CSR เพื่อลงทุนและสร้างงานด้านการเกษตรกับเกษตรกรและการใช้ประโยชน์

                  พื้นที่ทิ้งร่าง

                                (3) เขตพื นที่พืชเศรษฐกิจเพื่อการแข่งขัน มีเนื้อที่ 606,740  หรือร้อยละ 15.66 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด เป็นเขตพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวปลูกในพื้นที่ที่มีความเหมาะสม โดยเฉพาะกระท้อนตะลุงและ

                  ทานตะวัน เป็นพืชเกษตรที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะพื้นที่ของจังหวัด เกษตรกรนิยมปลูกกระท้อนตะลุงกันมาก
                  ในพื้นที่ 3 ต าบลของอ าเภอเมืองลพบุรี คือ ต าบลตะลุง ต าบลงิ้วราย และต าบลโพธิ์เก้าต้น ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มี

                  แม่น้ าลพบุรีไหลผ่านและหน้าดินเป็นดินน้ าไหลทรายมูลหรือดินทรายหวานที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก

                  กระท้อน ท าให้ผลผลิตกระท้อนที่ได้มีคุณภาพและรสชาติเป็นที่นิยมของตลาด ส่วนทานตะวันมีการปลูกใน
                  พื้นที่พืชไร่ กระจายทั่วจังหวัด ครอบคลุมอ าภอเมืองลพบุรี อ าเภอพัฒนานิคม อ าเภอโคกส าโรง อ าเภอชัย

                  บาดาล อ าเภอสระโบสถ์ และอ าเภอหนองม่วง
                                  ข้อเสนอแนะการใช้พื นที่เขตพืชเศรษฐกิจเพื่อการแข่งขัน

                                       - แนวทางการจัดการด้านการผลิตไม้ผล ควรใช้หลักการเกษตรอินทรีย์ เพื่อลด

                  การใช้สารเคมี โดยส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีชีวภาพ มีการจัดสร้างแหล่งน้ า
                  กักเก็บเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากภาวะแล้ง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิต

                                       - ส่งเสริมการผลิตเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัด ควบคู่กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

                  และการผลิตเพื่อการส่งออก
                                       - บริหารจัดการดินเชิงอนุรักษ์ส าหรับเขตส่งเสริมการปลูกทานตะวัน เพื่อให้

                  เกษตรกรสามารถสร้างรายได้อย่างต่อเนื่อง ภายหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตทานตะวัน โดยปลูกพืชไร่อื่น ได้แก่
                  มันส าปะหลังและข้าวโพด สลับกับการปลูกปอเทืองเป็นปุ๋ยพืชสดเพื่อการปรับปรุงบ ารุงดินระหว่างการเก็บ

                  เกี่ยวผลผลิตแต่ละรุ่น

                            5.2.2.3 เขตปศุสัตว์ มีเนื้อที่ 27,879 ไร่ หรือร้อยละ 0.72 ของเนื้อที่จังหวัด เป็นโรงเรือน
                  เลี้ยงสัตว์ ได้แก่ โค กระบือ ม้า สุกร และสัตว์ปีก ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ทั่วทุกอ าเภอ ของจังหวัดลพบุรี

                                  ข้อเสนอแนะการใช้พื นที่เขตปศุสัตว์
                                       - จัดหาแหล่งน้ าหรือขุดสระในไร่นาเพื่อให้สัตว์มีน้ าดื่มกิน

                                       - ปลูกไม้ยืนต้นเป็นร่มเงาแก่สัตว์เลี้ยง
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140