Page 138 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 138

5-14





                                       - บ ารุงรักษา ปรับปรุง และหมั่นขุดลอกท้องน้ าไม่ให้ตื้นเขิน สามารถรองรับปริมาณ

                  น้ าและการไหลเวียนน้ าได้อย่างสม่ าเสมอพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กให้มีจ านวนเพียงพอต่อความต้องการน้ า

                  เพื่อการเพาะปลูก การอุปโภคและบริโภค กระจายอย่างทั่วถึงในพื้นที่มีความเสี่ยงต่อภาวะแล้ง
                                       - รณรงค์การใช้น้ าอย่างมีประสิทธิภาพ ตามหลักการ 3Rs คือ การใช้อย่าง

                  ประหยัด (Reduce) การใช้ซ้ า (Reuse) การน ามาใช้ใหม่ (Recycle)

                                       - สร้างเครือข่ายชุมชนเพื่อร่วมกันอนุรักษ์และดูแลรักษาแหล่งน้ าในท้องถิ่น

                  5.3  ข้อเสนอแนะ


                        5.3.1 บทสรุป


                            จังหวัดลพบุรี มีศักยภาพในการพัฒนาทรัพยากรดินและการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน
                  หลายประการดังต่อไปนี้

                            (1) ลักษณะภูมิประเทศ และคุณสมบัติดิน โครงสร้างดินและสมรรถนะดินมีความต้านทานต่อ
                  สภาพการชะล้างพังทลายสูง ลักษณะดินที่มีปัญหาในจังหวัดมีสัดส่วนต่ า ที่ดินของจังหวัดมีความอุดม

                  สมบูรณ์มีความเหมาะสมต่อการเกษตรส าหรับพืชเศรษฐกิจระดับปานกลางถึงสูง

                            (2) มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีแหล่งโบราณสถานและโบราณคดี ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ทาง
                  วัฒนธรรมของจังหวัด เป็นแหล่งปลูกทานตะวันผืนใหญ่ที่เป็นเอกลักษณ์ มีเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เป็นแหล่งผลิต

                  ไฟฟ้าและชลประทานเพื่อการเกษตร

                            (3) ที่ตั้งไม่ไกลจากกรุงเทพฯ และเมืองบริวารโดยรอบที่มีการพัฒนาเส้นทางและระบบ
                  คมนาคมขนส่ง สามารถเดินทางเชื่อมโยงไปได้ทั้งภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ

                            (4) เป็นที่ตั้งของป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่อนุรักษ์ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า

                  ซึ่งมีความส าคัญในการช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมทางดิน น้ า ป่า และความหลากหลาย
                  ทางชีวภาพ รวมทั้งการควบคุมอุณหภูมิ ลดความรุนแรงของภัยพิบัติธรรมชาติ และความแปรปรวนของ

                  สภาพภูมิอากาศ
                            (5) เป็นแหล่งก าเนิดของกระท้อนตะลุง ซึ่งเป็นผลไม้เฉพาะถิ่นของจังหวัด ซึ่งควรได้รับการ

                  ส่งเสริมวิจัยเพื่อพัฒนาพันธุ์ และส่งเสริมด้านการตลาดเพื่อการค้าและเสริมสร้างรายได้แก่เกษตรกรและจังหวัด
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143