Page 81 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 81

3-31





                  ตารางที่ 3-11   การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการเกษตรจังหวัดพิษณุโลก (SWOT analysis)

                              จุดแข็ง (Strength : S)                     จุดอ่อน (Weakness : W)
                   1) มีการบริหารงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาล และ   1) ขาดการวางแผนการผลิต เกษตรกรยังยึดติดกับการปลูก
                       ขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์     พืชเดิม ๆ ไม่มีการวางแผนการปลูกพืช (ตลาดน้ าการผลิต)
                       แบบเบ็ดเสร็จ (SC)                     2) การติดตามประเมินผลไม่ต่อเนื่อง
                   2) ยึดเกษตรกรเป็นศูนย์กลางของการท างาน    3) จ านวนบุคลากรภาครัฐไม่เพียงพอ
                   3) สภาพพื้นที่และแหล่งน้ ามีความเหมาะสมในการ  4) งบประมาณมีจ ากัด (กระจุกตัวในบางหน่วยงาน)
                      ท าการเกษตรมีความหลากหลายในการผลิตสินค้า   5) เจ้าหน้าที่มีทักษะในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต
                      เกษตร                                     สินค้าเกษตรให้เกษตรกรเข้าใจและน าไปปฏิบัติได้น้อย
                   4) เกษตรกรมีการรวมกลุ่มที่เข้มแข็ง        6) ประสิทธิภาพในการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ
                   5) มีการใช้นวัตกรรมในการผลิตและแปรรูป     7) ระบบชลประทานไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่
                   6) มีหน่วยงานวิชาการทางด้านการเกษตรที่  8) การบริหารจัดการของระบบสหกรณ์ไม่ครอบคลุมกับ
                      หลากหลาย                                  วัตถุประสงค์
                   7) มี ศพก. เป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต
                      สินค้าเกษตร
                   8) จังหวัดพิษณุโลก ประกาศให้น้อมน าปรัชญา
                      เศรษฐกิจพอเพียงเป็นวาระจังหวัด
                             โอกาส (Opportunity : O)                      อุปสรรค (Threat : T)
                   1) นโยบายปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรของ   1) กฎระเบียบทางการค้า กรอบนโยบายความร่วมมือทาง
                      กระทรวงเกษตรและสหกรณ์                      เศรษฐกิจ
                   2) นโยบายเปิดตลาดสู่ AEC                  2) เป็นพื้นที่สีเขียว มีข้อจ ากัดในการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม
                   3) มี MOU ด้านวิจัยและพัฒนาทางการเกษตร    3) เกษตรกรอายุมากขึ้น ไม่ยอมรับเทคโนโลยีใหม่
                      ระหว่างสถาบันการศึกษาในภูมิภาคลุ่มน้ าโขง   4) ระบบสารสนเทศฐานข้อมูลด้านการเกษตรไม่ครอบคลุม
                   4) มีเส้นทางการคมนาคมที่สะดวกเชื่อมต่อภูมิภาค       และไม่เป็นปัจจุบัน
                      ต่าง ๆ ทั้งทางรถยนต์ รถไฟ และเครื่องบิน   5) สมองไหล / น าเทคโนโลยี เทคนิคการผลิตออกนอก
                   5) ภาคอุตสาหกรรมเกษตรส่งเสริมให้น าเทคโนโลยี      ประเทศ
                      มาใช้มากขึ้น                           6) การเคลื่อนย้ายฐานการผลิตสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
                   6) ปัจจุบันมีระบบเน็ตเวิร์ค โซเซียล ที่สามารถ   7) เทคโนโลยีเจาะเฉพาะกลุ่มบุคคล
                      น ามาใช้ประโยชน์ในการขายสินค้าที่มากขึ้น    8) บางพื้นที่ประสบปัญหาภัยแล้งซ้ าซากไม่สามารถจัดหา
                      (online)                                  แหล่งน้ าที่ถาวรได้ เนื่องจากติด NGO คัดค้านการสร้าง
                   7) คนรุ่นใหม่ที่มีความรู้ กลับคืนถิ่น เป็นผู้ผลิตสินค้า      เขื่อนเก็บน้ า
                      เกษตรเพิ่มมากขึ้น
                   8) มีตลาดกลางสินค้าด้านการเกษตรที่ช่วยกระจาย
                      ผลผลิตสู่ต่างจังหวัด
                  ที่มา: ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิษณุโลก (2560)
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86