Page 70 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 70

3-20





                          ยางพารา

                                 ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                            พบว่ามีข้อจ ากัดด้านอินทรียวัตถุ (m) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (p) ปริมาณ
                  โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (k) ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c) ความอิ่มตัวด้วยด่าง (b)

                  ความลาดชัน (g) ความลึกของดิน (d) และปฏิกิริยาดิน (a)
                          ชั นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัด ด้านความลาดชัน (g) ความลึกของดิน
                  (d) และปฏิกิริยาดิน (a)

                          สับปะรด
                                 ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                            พบว่ามีข้อจ ากัดด้านอินทรียวัตถุ (m) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (p) ปริมาณ
                  โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (k) ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c) ความอิ่มตัวด้วยด่าง (b)
                  ความลาดชัน (g) ความลึกของดิน (d) และปฏิกิริยาดิน (a)

                          ชั นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัด ด้านความลาดชัน (g)

                        3. ด้านเศรษฐกิจและสังคม


                          3.1  ข้อมูลทั่วไปด้านเศรษฐกิจและสังคม
                                 1) ประชากรและโครงสร้างประชากร

                                   จังหวัดพิษณุโลกมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 6.76 ล้านไร่ หรือคิดเป็น 10,815.85
                  ตารางกิโลเมตร จากข้อมูลที่ท าการปกครองจังหวัดพิษณุโลก ปี 2559 มีประชากรรวมทั้งสิ้น 202,530
                  คน อ าเภอที่มีประชากรมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอเมืองพิษณุโลกมีประชากรทั้งสิ้น 107,861 คน รองลงมา

                  ได้แก่ อ าเภอนครไทย 19,434 คน ส่วนอ าเภอที่มีประชากรน้อยที่สุดได้แก่ อ าเภอพรหมพิราม
                  มีประชากรเพียง 4,534 คน เท่านั้น ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 19 คนต่อตารางกิโลเมตร โดยมี
                  ความหนาแน่นมากที่สุดคือ อ าเภอเมืองพิษณุโลกเฉลี่ย 64 คนต่อตารางกิโลเมตร และความหนาแน่น
                  ครัวเรือน 30 ครัวเรือนต่อตารางกิโลเมตร โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 3-6
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75