Page 68 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 68

3-18





                        2.2  ประเภทการใช้ที่ดิน

                            ประเภทการใช้ที่ดิน หมายถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีความแตกต่างกันในรายละเอียด
                  เช่นชนิดของพืช พันธุ์พืช ระดับการจัดการ วิธีการปลูก ระบบและช่วงเวลาที่ปลูกชนิด และอัตราการใช้
                  ปุ๋ย จากการศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินพื้นที่ด าเนินการและความต้องการของเกษตรกรในจังหวัด

                  พิษณุโลก สามารถก าหนดประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 3-5

                  ตารางที่ 3-5 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดพิษณุโลก


                         ชนิดพืช                     พันธุ์              ช่วงเพาะปลูก   วัตถุประสงค์ของการผลิต
                      1.  ข้าว           พิษณุโลก2,  กข43, ปทุมธานี1, กข49   ฤดูฝนและฤดูแล้ง   บริโภคและจ าหน่าย

                      2.  ข้าวโพด        ลูกผสมเอกชนเช่น แปซิฟิก339, เอส328   ตลอดปี         จ าหน่าย
                      3.  มันส าปะหลัง   เกษตรศาสตร์ 50                     ฤดูฝน            จ าหน่าย

                      4.  อ้อย           ขอนแก่น 3                          ตลอดปี           จ าหน่าย
                      5.  มะม่วง         น้ าดอกไม้                         ตลอดปี           จ าหน่าย

                      6.  ทุเรียน        หมอนทอง, ชะนี และหลงรักไทย        ตลอดปี            จ าหน่าย
                      7.   กล้วย         น้ าว้า                            ตลอดปี           จ าหน่าย

                      8.  ยางพารา        RRIM 600                           ตลอดปี           จ าหน่าย
                      9.  สับปะรด        ภูแล และ นางแล                     ตลอดปี           จ าหน่าย

                        2.3   ผลการประเมินคุณภาพที่ดิน

                            จากการใช้คู่มือการประเมินคุณภาพที่ดิน ส าหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับต าบล
                  และระดับจังหวัด (ศันสนีย์ และค ารณ 2562) ประเมินคุณภาพที่ดิน ได้จ าแนกชั้นความเหมาะสมทาง
                  กายภาพและข้อจ ากัดของประเภทการใช้ที่ดิน ดังนี้ (รายละเอียดดังตารางภาคผนวกที่ 3)
                              ข้าวนาปี

                              ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                            พบว่ามีข้อจ ากัดด้านอินทรียวัตถุ (m) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (p) ปริมาณ
                  โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (k) ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c) ความอิ่มตัวด้วยด่าง (b)

                  ความลาดชัน (g) และปฏิกิริยาดิน (a)
                            ข้าวโพดเลี ยงสัตว์

                              ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                              พบว่ามีข้อจ ากัดด้านอินทรียวัตถุ (m) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (p) ปริมาณ
                  โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (k) ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c) ความอิ่มตัวด้วยด่าง (b)

                  และความลาดชัน (g)

                            ชั นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความลึกของดิน (d)
                  และปฏิกิริยาดิน (a)
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73