Page 55 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 55

2-37






                  ตารางที่ 2-13  ต้นทุน ผลตอบแทน และผลตอบแทนสุทธิการปลูกยางพารา ปี พ.ศ. 2559


                                                             พื้นที่เหมาะสม
                                  รายการ                                         พื้นที่ไม่เหมาะสม (S3+N)
                                                               (S1+S2)
                  1. ต๎นทุนรวมตํอไรํ (บาท)                     8,748.31                  7,435.67
                  2. ผลผลิตตํอไรํ (กก.)                          345.96                    282.30
                  3. ราคาที่ขายได๎ ณ ไรํนา (บาท/กก.)              48.72                     48.72
                  4. ผลตอบแทนตํอไรํ (บาท)                     16,855.17                 13,753.66
                  5. ผลตอบแทนสุทธิตํอไรํ (บาท)                 8,106.86                  6,317.99

                  ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10 (2562)




                                                        ยางพารา

                              ผลผลิต (Supply) 28,335 ตัน        ความต๎องการใช๎ (Demand) 1,400,158 ตัน


                        ผลผลิตในจังหวัด   น าเข๎าจากจังหวัดอื่น   ความต๎องการใช๎ในจังหวัด 28,335 ตัน
                          27,560 ตัน          775 ตัน            - ผลผลิตจ าหนํายจังหวัดอื่น 100.00%

                  รูปที่ 2-12  การวิเคราะห์ผลผลิตและความต้องการใช้ยางพาราของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี พ.ศ. 2560
                  ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10 (2562)
                                                                                                                                            ส่งออกนอกจังหวัด
                                           จากรูปที่ 2-12 พบวํา ปริมาณผลผลิตยางพาราในจังหวัดมีจ านวน 28,335 ตัน                                   0 ตัน

                  ประกอบด๎วย ผลผลิตในจังหวัดจ านวน 27,560 ตัน และผลผลิตที่น าเข๎าจากจังหวัดอื่นจ านวน 775 ตัน
                  เนื่องจากจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ไมํมีโรงงานแปรรูป ดังนั้นผลผลิตทั้งหมดจึงสํงจ าหนํายโรงงานแปรรูป
                  จังหวัดชุมพร และจังหวัดสุราษฎร์ธานี

                               2.1.4)  ปาล์มน้ ามัน
                                      (1)   สถานการณ์การผลิตและการตลาด
                                           ปี พ.ศ. 2556-2560 พื้นที่ให๎ผลมีแนวโน๎มเพิ่มขึ้นเนื่องจากเกษตรกร

                  ปรับเปลี่ยนจากพื้นที่ปลูกยางอายุมากเป็นการปลูกปาล์มน้ ามันทดแทน ผลผลิตรวม และผลผลิตตํอไรํมี
                  แนวโน๎มลดลงเนื่องจากสถานการณ์ภัยแล๎งอยํางรุนแรง (ตารางที่ 2-14)
                                           วิถีการตลาดปาล์มน้ ามันของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ประกอบด๎วย เกษตรกร
                  ขายผลผลิตให๎กับโรงงานสกัดน้ ามันโดยตรง และลานเทปาล์มน้ ามัน ลานเทรับซื้อจากเกษตรกร และ

                  ขายตํอให๎กับโรงงานสกัดน้ ามันในจังหวัดและนอกจังหวัด โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มรับซื้อผลผลิตปาล์มน้ ามัน
                  จากเกษตรกร และลานเท และสํงน้ ามันปาล์มดิบออกนอกจังหวัด โรงงานกลั่นน้ ามันปาล์มรับซื้อ
                  น้ ามันเมล็ดในปาล์มดิบมาจากนอกจังหวัด ได๎แกํ จังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดกระบี่
                  น ามากลั่นเป็นวัตถุดิบท าครีมเทียมแล๎วสํงออกนอกจังหวัด (รูปที่ 2-13)
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60