Page 54 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 54

2-36






                                           วิถีการยางพาราของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์พบวํา สหกรณ์ชาวสวนยางพารา

                  และกลุํมเกษตรกรผู๎ปลูกยางพาราของ กยท.น าผลผลิตทั้งหมดขายผํานตลาดประมูลยางบางสะพานน๎อย
                  และตลาดประมูลยาง กยท. และผลผลิตที่ถูกรวบรวมทั้งหมดในจังหวัดจะถูกจ าหนํายเข๎าโรงงานแปรรูป
                  ในจังหวัดชุมพร และจังหวัดสุราษฎร์ธานี (รูปที่ 2-11)


                  ตารางที่ 2-12   พื้นที่ยืนต้น พื้นที่กรีดได้ ผลผลิตรวม และผลผลิตต่อไร่ของยางพารา ปี พ.ศ. 2556-2560


                                ปี                พื้นที่ยืนต้น   พื้นที่กรีดได้   ผลผลิตรวม   ผลผลิตต่อไร่
                                                     (ไร่)         (ไร่)         (ตัน)         (กก.)
                              2556                 164,117         88,504       18,566           210
                              2557                 164,410       104,350        21,262           204

                              2558                 227,684       148,120        30,644           207
                              2559                 226,994       148,670        31,582           212
                              2560                 219,308       172,542        38,822           225
                   อัตราการเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)       9.44         18.40         20.57          1.78

                  ที่มา : 1 ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10 (2562)





                                             ผลผลิตยางพาราของจังหวัด

                           ตลาดประมูลยาง บางสะพานน๎อย        ตลาดประมูลยาง กยท.

                                           โรงงานแปรรูป ชุมพร สุราษฎร์ธานี



                  รูปที่ 2-11  วิถีการตลาดยางพาราของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
                  ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10 (2562)



                                      (2)   ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน อุปสงค์ และอุปทาน
                                           ต๎นทุนและผลตอบแทนการผลิตยางพาราปีเพาะปลูก 2559 ของจังหวัด
                  ประจวบคีรีขันธ์พบวํา ในพื้นที่เหมาะสมของดิน (S1/S2) มีต๎นทุนการผลิตมากกวําพื้นที่ไมํเหมาะสมของดิน
                  (S3/N) ในขณะที่ปริมาณผลผลิตตํอไรํมากกวําสํงผลให๎มีผลตอบแทนตํอไรํและผลตอบแทนสุทธิตํอไรํ

                  สูงกวํา (ตารางที่ 2-13)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59