Page 125 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 125

5-13





                                      - ควบคุมมลพิษทางน้ า โดยมีนโยบายให้ผู้ก่อมลพิษต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการ

                  ด าเนินการแก้ไขปัญหาและเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการอย่างเคร่งครัดเพื่อลดความสกปรกปนเปื้อน
                  น้ าเสียลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ

                            (6)   เขตพัฒนาการประมง (สัญลักษณ์แผนที่ 26)
                                  มีเนื้อที่ 54,293 ไร่ หรือร้อยละ 1.36 ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซ้อนทับกับ
                  พื้นที่ราชพัสดุประมาณ 523 ไร่ ปัจจุบันมีสภาพพื้นที่เป็นสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ได้แก่ สถานที่

                  เพาะเลี้ยงกุ้ง สถานที่เพาะเลี้ยงปลา เป็นต้น
                                  รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ
                                   - ต้องปฏิบัติตามนโยบายด้านการใช้พื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอย่างเข้มงวด

                  เนื่องจากกิจกรรมนี้อาจส่งผลกระทบต่อพื้นที่ข้างเคียง
                                   - ควรก าหนดเขตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าให้ชัดเจนเพื่อควบคุมและป้องกันไม่ให้เกิด
                  ผลกระทบต่อระบบนิเวศ

                        5.1.3 เขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
                                มีเนื้อที่ 216,399 ไร่ หรือร้อยละ 5.44  ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยเขตชุมชนเมือง

                  ชุมชนชนบท สถานที่ราชการ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ระบบโครงข่ายคมนาคม และสถานที่ที่เกิดจาก
                  การกิจกรรมของชุมชน (ที่ทิ้งขยะ) จ าแนกตามข้อมูลจากการส ารวจสภาพการใช้ที่ดินจังหวัด
                  ประจวบคีรีขันธ์ จากการส ารวจประกอบกับภาพถ่ายทางอากาศ และค านวณเนื้อที่ด้วยระบบ
                  สารสนเทศภูมิศาสตร์ของส่วนวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนา

                  ที่ดิน (2560)

                        5.1.4 เขตอุตสาหกรรม
                            มีเนื้อที่ 29,215 ไร่ หรือร้อยละ 0.73 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยเขตพัฒนา
                  อุตสาหกรรม (สัญลักษณ์แผนที่ 41) ประกอบด้วยพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหล่งรับ
                  ซื้อทางการเกษตร) และเขตอุตสาหกรรมเหมืองแร่/บ่อดิน (สัญลักษณ์แผนที่ 42) ประกอบด้วย

                  พื้นที่เหมืองแร่ บ่อขุด บ่อดิน บ่อลูกรัง

                        5.1.5 พื้นที่แหล่งน้้า
                                มีเนื้อที่ 59,800 ไร่ หรือร้อยละ 1.50  ของเนื้อที่จังหวัด เขตนี้ก าหนดจากแหล่งน้ า
                  ธรรมชาติ (สัญลักษณ์แผนที่ 51) ได้แก่ แม่น้ า ล าคลอง หนอง บึงต่างๆ และแหล่งน้ าที่สร้างขึ้น
                  (สัญลักษณ์แผนที่ 52) ได้แก่ อ่างเก็บน้ าและบ่อน้ า แหล่งน้ าเหล่านี้ใช้ประโยชน์ทั้งทางด้านเก็บกักน้ า

                  เพื่อการอุปโภคบริโภค และใช้ในด้านเกษตรกรรม ตลอดจนเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติและแหล่ง
                  เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าของชุมชน
                                รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ ควรดูแลรักษาแหล่งน้ าธรรมชาติและแหล่งน้ า

                  ที่สร้างขึ้นไม่ให้เสื่อมโทรมทั้งด้านคุณภาพของน้ าและการกักเก็บน้ า ไม่ปล่อยให้ล าน้ าตื้นเขินและถูกบุกรุก
                  หมั่นขุดลอกคูคลอง ไม่ทิ้งขยะหรือปล่อยน้ าเสียลงในแหล่งน้ า เร่งรัดพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กให้
                  กระจายอยู่ทั่วพื้นที่ เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคและการเพาะปลูกในช่วงขาดน้ า
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130