Page 18 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 18

1-6





                                                                           ึ่
                                                                                                  ี่
                  เปนอสังหาริมทรัพยอยางหนึ่งหรือเปนพื้นที่บริเวณหนึ่งบนพื้นผิวโลกซงมการแบงอาณาเขตตามทมนุษย
                                                                              ี
                               ี่
                                    ี
                                                                              ั
                  กำหนดไวโดยทที่ดินมลักษณะเปน 2 มิติ (Two dimensions) คือกวางกบยาวสวน “ดิน” เปนเทหวัตถ ุ
                  ธรรมชาติอยางหนึ่งประกอบกันขึ้นเปนสวนหนึ่งของภูมิประเทศหรือของที่ดินมีลักษณะเปน 3 มิติ
                  (Three dimensions) คือกวางยาวและลึกฉะนั้นการศึกษาดินจึงจำเปนตองศึกษาลักษณะของดินตาม
                  ความลึกจากผิวดินลงไปขางลางดวยหรือที่เราเรียกวาหนาตัดของดิน (Soil profile) ดังนั้นที่ดินแปลงหนึง ่
                                                                                                    ี่
                                                                                               ั
                                                             ็
                  อาจประกอบดวยดินเพียงชนิดเดียวหรือหลายชนิดกได (เฉลียว, 2530) ตามพระราชบัญญัติพฒนาทดิน
                  พ.ศ. 2551 ที่ดิน หมายความวา ที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2552) หมายความวา
                  พื้นที่ดินทั่วไป และใหหมายความรวมถึง ภูเขา หวย หนอง คลอง บึง บาง ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะ และ
                                      ิ
                                     ่
                  ที่ชายทะเลดวย (กรมทีดน, 2558)
                                                                                 ้
                                     ิ
                        1.5.9 การใชที่ดน (Land use) หมายถึง การใชที่ดินเปนทรัพยากรขันพื้นฐานในการผลิตอาหาร
                  เครื่องนุงหม ยารักษาโรค ตลอดจนใชเปนที่พกผอน ที่อยูอาศัย กักเก็บน้ำ หรือใชในกิจการอื่น ๆ ที่ม ี
                                                        ั
                  ความสำคัญตอชีวิตความเปนอยูของมวลมนุษย ทั้งนี้รวมถึงการใชที่ดินในปจจุบันและการใชที่ดินใน
                  อนาคตดวย บัณฑิต (2535) ใหความหมายไววา การใชที่ดินเปนกิจกรรมของมนุษยบนพื้นดินและสิ่งท ่ ี
                  เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ทั้งนี้รวมถึงสิ่งปกคลุมดินเพอที่จะสามารถจัดจำแนกพนทไดทงหมด โดยทวไปแลว
                                                          ื่
                                                                                      ั้
                                                                                  ี่
                                                                                ื้
                                                                                                ั่
                  ลำดับชั้นและสิ่งปกคลุมดินมีดวยกัน 3 ลักษณะคือ โครงสรางทางกายภาพที่มนุษยสรางขน
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ้
                                                                                                      ึ
                  ปรากฏการณทางชีวภาพและการพัฒนาทุกประเภท สถิตย (2521) ไดกลาวไววา การใชที่ดิน หมายถง
                                                                                  ุ
                                                                                                ิ
                  การนำที่ดินมาใชบำบัดความตองการของมนุษยในดานตาง ๆ เชน เกษตรกรรม อตสาหกรรม พาณชยกรรม
                                                                                                  ี่
                  และที่อยูอาศัย เปนตน การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน หมายถึง การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนทดินวา
                  เปนไปในรูปใด เชน การทำเกษตรกรรม เหมืองแร การกอสรางอาคารที่อยูอาศัย เปนตน
                        1.5.10  การพัฒนาที่ดิน (Land development) มีความหมายวา การกระทำใด ๆ ตอดินหรือ
                                                                     ื่
                                            ุ
                                                                                                  ึ้
                  ที่ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคณภาพของดินหรือที่ดินหรือเพอเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหสูงขนและ
                                                                                           ิ
                                                  ิ
                  หมายความรวมถึงการปรับปรุงบำรุงดนหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณตามธรรมชาต หรือขาดความ
                  อุดมสมบูรณเพราะการใชประโยชน การอนุรักษดินและน้ำเพื่อรักษาดุลธรรมชาติหรือเพื่อความ
                  เหมาะสมในการใชที่ดินเพื่อการเกษตร (กรมพัฒนาทดิน, 2552) ดังนั้น พอแบงหลักการพัฒนาที่ดินออก
                                                             ี่
                  ไดเปน 2 อยางดังนี้ (1) สงเสริมใหมีการนำที่ดินที่ยังไมเคยใชประโยชนใหมาอยูในรูปที่ใชประโยชนใน
                  กิจกรรมตาง ๆ เชนดานเกษตรกรรมอุตสาหกรรมพาณิชยกรรมและที่อยูอาศัยเปนตน (2) สงเสริมให
                  ที่ดินที่ใชประโยชนอยูแลวใหไดรับประโยชนหรือผลตอบแทนอยางเต็มที่โดยวิธีปรับปรุงบำรุงดินดวย
                  วิธีการตาง ๆ (ศรัญณุพงศ, 2560) การพัฒนาที่ดิน เปนการบริหารจัดการ และดำเนินการ หรือปฏิบัติตอ
                                                                                                      
                  ดินหรือที่ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดินหรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให
                  สูงขึ้น โดยการบูรณาการงานอนุรักษดินและน้ำ รวมถึงการปรับปรุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ 
                                                    
                                                                                     ู
                                           ุ
                  ตามธรรมชาติหรือขาดความอดมสมบูรณเพราะการใชประโยชนในทดิน เพื่อฟนฟรักษาสมดุลธรรมชาติ
                                                                          ี่
                                                    ื่
                                               ี่
                  และวางแผนการใชประโยชนที่ดินทดินเพอการเกษตรอยางยั่งยืน ดังนั้น จึงสามารถแบงหลักการพฒนา
                                                                                                   ั
                  ที่ดินออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) การพัฒนาที่ดินที่ยังไมเคยใชประโยชนใหมาอยูในรูปทใชประโยชน
                                                                                             ี่
                                                                  
                                                                                                   ั
                            
                     ิ
                  ในกจกรรมตาง ๆ เชน ดานเกษตรกรรม อตสาหกรรม พาณิชยกรรม และที่อยูอาศย เปนตน 2) การพฒนา
                                                                                    ั
                                                    ุ
                                      
                  ที่ดินที่ใชประโยชนอยูแลวใหไดรับผลตอบแทนอยางเต็มที่ โดยการอนุรักษดินและน้ำ รวมถึงการฟนฟ  ู
                  ปรับปรุงบำรุงดินดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อการใชประโยชนอยางยั่งยืน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23