Page 16 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 16

1-4





                              (5) การประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ เพื่อหาผลตอบแทนจากการใช

                  ประโยชนที่ดิน โดยนำวิธีจากระบบ FAO Framework (1983) มาประยุกตใชรวมกับหลักการทางสถิต  ิ
                  ทำการวิเคราะหจากขอมูลการผลิตในปการผลิต 2560/61 แลวนำมาบันทึกลงในโปรแกรมสำเร็จรูป
                  คาตัวแปรที่นำมาใชพิจารณา คือ รายได (มูลคาผลผลิต) ตนทุนผันแปร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร

                  และอัตราสวนของผลตอบแทนตอตนทุนของประเภทการใชประโยชนที่ดินชนิดตาง ๆ ในแตละหนวยที่ดน
                                                                                                      ิ
                  หาคาพิสัย (Range) ของตัวแปรแตละชุดแลวแบงชวงของขอมูล (Interval Range) ออกเปนชวงตาง ๆ
                  ใหคะแนนในแตละชวง เพื่อจัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจเปน 3 ระดับ คือ ระดับ
                  ความเหมาะสมสูง (S1) เหมาะสมปานกลาง (S2) เหมาะสมเล็กนอย (S3)

                              (6) วิเคราะหนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรตาง ๆ
                  ทั้งดานการอนุรักษและพัฒนาที่มีผลตอสถานภาพของทรัพยากรที่เปนปญหาในปจจุบัน เพื่อเสนอแนะ
                                              ่
                                                                                ี
                                                                                 ิ
                                                ิ
                                                        ิ
                                                                                                    ่
                                              ี
                  นโยบาย แนวทางการจัดการการใชทดน และใชพจารณาการกำหนดเขตการใชทดนในการวางแผนการใชทดน
                                                                                                      ิ
                                                                                ่
                                                                                                    ี
                  ที่มีประสิทธิภาพ เปนการแกปญหาเชิงพื้นท  ี่
                                                        ิ
                              (7) จัดทำแผนการใชที่ดน โดยนำผลการวิเคราะหดานทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจและสังคมมาประกอบการพิจารณา ตลอดจนนโยบายของรัฐที่เกี่ยวของดวย
                  การสรางแผนที่แผนการใชที่ดินจังหวัดรอยเอ็ดและกำหนดเขตการใชที่ดินใหเหมาะสมสำหรับ
                  กิจกรรมดานตาง ๆ เชน เขตพื้นที่ปาไม เขตเกษตรกรรม เขตชุมชน และเขตอุตสาหกรรม เปนตน
                  โดยใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมศาสตร
                                               ิ
                      1.4.6 การนำเสนอขอมูล
                          1)  นำเสนอในรูปของรายงานแผนการใชที่ดินใหเหมาะสมสำหรับกิจกรรมดานตาง ๆ
                  พรอมขอเสนอแนะแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในแตละเขต ซึ่งไดจากผลการศึกษา
                  วิเคราะหขอมูลทั่วไปและขอมูลเฉพาะดาน
                          2) นำเสนอในรูปของแผนที่แผนการใชที่ดิน ขนาดมาตราสวน 1 : 25,000

                  1.5  คำนิยามทั่วไปที่เกี่ยวของกับแผนการใชที่ดินระดับจังหวัด

                        1.5.1  ดิน (Soil) หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติ (Natural body) ซึ่งเกิดขึ้นบนพื้นผิวโลกที่เกิดจาก
                                                                                                   ้
                  การสลายตัวของหินและแรธาตุตาง ๆ ผสมคลุกเคลากับอินทรียวัตถุซึ่งอยูเปนชั้นบาง ๆ เปนวัตถุที่คำจุน
                  การเจริญเติบโตและการทรงตัวของตนไมดินประกอบดวยแรธาตุทเปนของแขงอินทรียวัตถุน้ำและอากาศ
                                                                                 ็
                                                                        ี่
                  ที่มีสัดสวนแตกตางกันขึ้นอยูกับภูมิอากาศพืชพรรณวัตถุตนกำเนิดเวลาและสภาพภูมิประเทศนั้น ๆ
                  (คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551) ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551

                  ดิน หมายความรวมถึง หิน กรวด ทราย แรธาตุ น้ำ และอินทรียวัตถุตาง ๆ ที่เจือปนกับเนื้อดินดวย
                  (กรมพฒนาทดน, 2552)
                              ิ
                       ั
                             ่
                             ี
                        1.5.2  การจำแนกดิน (Soil Classification) หมายถึง การจำแนกดินเปนการจัดดินเปนกลุมหรือเปน
                  ชั้นการจำแนกอยางมีระบบบนพื้นฐานลักษณะเฉพาะของดินนั้น การจัดดินเปนกลุมแบบกวาง ๆ
                  ใชสมบัติเฉพาะทั่ว ๆ ไป เมื่อแบงยอยลงไป ใชสมบัติที่เฉพาะเจาะจงมาก (คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรม
                      ี
                  ปฐพวิทยา, 2551)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21