Page 23 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 23

บทที 2
                                                              ่
                                                      ขอมูลทั่วไป



                                             
                  2.1  ประวัติและเอกลักษณ (สำนักงานจังหวัดกาฬสินธุ, 2566)
                        สมัย กรุงธนบุรีประมาณ พ.ศ.2310 พระเจาองคเวียนดาแหงนครเวียงจันทน ไดสิ้นพระชนม  
                  โอรสทาวเพี้ยเมืองแสนไดยกกองทัพเขายึดเมืองเวียงจันทนและไดสถาปนา ขึ้นเปน พระเจาแผนดนสืบ
                                                                                                   ิ
                  แทน ทรงพระนามวา "พระเจาศิริบุญสาร" พ.ศ. 2320 ทาวโสมพะมิตร และ อุปราชเมืองแสนฆองโปง
                                                                                             
                                    ั
                                                                                           
                  เมืองแสนหนาง้ำเกดขดใจกบพระเจาศิริบุญสาร จึงรวบรวมผูคนอพยพจากดินแดนทางฝงซายแมน้ำโขง
                                        ั
                                 ิ
                  ขามมาตั้งบานเรือนบริเวณลุมน้ำก่ำแถบบานพรรณา (ปจจุบันอยูในเขตจังหวัดสกลนคร) ตอมาทาวศิริ
                  บุญสารไดยกกองทัพติดตามมา ทาวโสมพะมิตรจึงอพยพตอไปโดยแยกเปน 2 สาย คือ
                        สายที่ 1 มี เมืองแสนหนาง้ำเปนหัวหนา อพยพไปทางทิศตะวันออกสมทบกับพระวอหลบหนีไป
                  จนถึงนครจำปาศักดิ์ขอพึ่งบารมี ของ พระเจาหลวงแหงนครจำปาศักดิ์ และตั้งบานเรือน ณ ดอนคอน
                  กอง ตอมาเรียกวา "คายบานดูบานแก" ในป พ.ศ. 2321 พระเจาศิริบุญสาร ใหเพี้ยสรรคสุโภย
                  ยกกองทัพมาปราบ พระวอตายในสนามรบ ผูคนที่เหลือจึงอพยพไปอยูในเกาะกลางลำแมน้ำมูล ชื่อวา

                  "ดอนมดแดง" (ปจจุบันอยูในเขตจังหวัดอุบลราชธานี)
                        สายที่ 2 มีทาวโสมพะมิตรเปนหัวหนา ไดอพยพขามสันเขาภูพานลงมาทางใต และตั้งบานเรือน
                  อยูที่บานกลางหมื่น ตอมาทาวโสมพะมิตร ไดสงทาวตรัยและคณะ ออกเสาะหาชัยภูมิที่จะสรางเมืองใหม 

                  ใชเวลาประมาณปเศษจึงพบทำเลที่เหมาะสม คือบริเวณลำน้ำปาวและเห็นวาแกงสำโรงชายสงเปลือยม ี
                  ดิน น้ำอุดมสมบูรณ จึงอพยพผูคนมาตั้งบานเรือนและไดจัดตั้งศาลเจาพอหลักเมอง
                                                                                   ื
                                                                            
                                                                                                      
                        พ.ศ. 2336 ทาวโสมพะมิตรได นำเครื่องบรรณาการ คือ กาน้ำสัมฤทธิ์ เขาถวายสวามิภักดิ์ตอ
                  พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แหงราชวงศจักรี และขอตั้งบานแกงสำโรง
                  ขึ้นเปนเมือง ไดรับพระราชทานนามวา "กาฬสินธุ" และไดแตงตั้งให ทาวโสมพะมิตรเปน "พระยาชัย
                  สุนทร"
                        พ.ศ. 2437 สมัยพระยาชัยสุนทร (ทาวเก) ไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองเปนแบบ
                  เทศาภิบาล มี มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และใหเมืองกาฬสินธุ เปน "อำเภออุทัยกาฬสินธุ" ขึ้นกบ
                                                                                                      ั
                  จังหวัดรอยเอ็ด
                        วันที่ 1 สิงหาคม 2456 ไดยกฐานะอำเภออุทัยกาฬสินธุเปน "จังหวัดกาฬสินธุ" ใหมีอำนาจ
                  ปกครอง อำเภออุทัยกาฬสินธุ อำเภอสหัสขันธ อำเภอกุฉินารายณ อำเภอกมลาไสย และอำเภอยาง
                  ตลาด โดยใหขึ้นตอมณฑลรอยเอ็ด

                        วันที่ 18 กุมภาพันธ 2474 จังหวัดกาฬสินธุถูกยุบเปนอำเภอ ขึ้นกับจังหวัดมหาสารคาม และ 1
                  ตุลาคม 2490 ไดยกฐานะเปน "จังหวัดกาฬสินธุ" จนถึงปจจุบัน
                        กาฬสินธุเปนจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณจังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคด ี

                  บงบอกวาเคยเปนที่อยูอาศัยของเผาละวา ซึ่งมีความเจริญทางดานอารยธรรมประมาณ 1,600 ป จาก
                                                                                           
                  หลักฐานทางประวัติศาสตรเริ่มตั้งเปนเมืองในสมัยรัตนโกสินทร เมื่อป พ.ศ. 2336 โดยทาวโสมพะมิตร
                  ไดอพยพหลบภัยมาจากดินแดนฝงซายแมน้ำโขงพรอมไพรพล และมาตั้งบานเรือนอยูริมน้ำปาว เรียกวา
                                                    
                                               
                                                                                                      
                  “บานแกงสำโรง” แลวไดนำเครื่องบรรณาการเขาถวายสวามิภักดิ์ตอพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28