Page 199 - Land Use Plan of Thailand
P. 199

6-37





                        6.3.7  เขตอนุรักษ์ศิลปกรรมและโบราณคดี


                               การปกป้องคุ้มครองและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ทั้งโบราณสถานและแหล่ง
                  โบราณคดีอย่างเข้มแข็ง เพื่อไม่ให้มีการบุกรุกท าลาย โดยเฉพาะในพื้นที่มรดกโลก โบราณคดี อุทยาน

                  ประวัติศาสตร์ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ทั้งในแหล่งที่มีความส าคัญระดับชาติและระดับนานาชาติ
                  นอกจากนั้นแหล่งโบราณสถานและแหล่งโบราณคดียังใช้เพื่อประโยชน์ในด้านการศึกษาและการ
                  ท่องเที่ยวได้อีกทางหนึ่งด้วย
                               อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย อยู่ในการดูแลของกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

                  ปัจจุบันมีอุทยานประวัติศาสตร์ 10 แห่ง ซึ่งใน 10 แห่งนี้ มี 4 แห่ง ที่ได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลก
                  โดยองค์การยูเนสโก ได้แก่ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อุทยาน
                  ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย และอุทยานประวัติศาสตร์ก าแพงเพชร รวมถึงปัจจุบันยังมีแหล่งโบราณสถาน
                  รวม 7,768 แห่ง แบ่งเป็น โบราณสถานที่ประกาศขึ้นทะเบียนทั่วราชอาณาจักร จ านวน 2,088 แห่ง

                  และโบราณสถานทั่วราชอาณาจักรที่ยังไม่ได้ประกาศขึ้นทะเบียน จ านวน 5,680 แห่ง
                               แนวทางการพัฒนา
                               กลยุทธ์การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ เพื่อให้การด าเนินงานตามวิสัยทัศน์ บรรลุตาม
                  เป้าประสงค์ที่ก าหนด จึงได้ก าหนดกลยุทธ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ทั้ง 3 ด้านไว้ ดังนี้ (กรมศิลปากร,

                  2557: 31-32)
                               ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพมาตรฐานในการธ ารงรักษาจารีต
                  ประเพณี การอนุรักษ์ บ ารุงรักษามรดกทางศิลปวัฒนธรรม มีกลยุทธ์ ดังนี้

                               (1) ศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนามาตรฐานการธ ารงรักษา จารีตประเพณี อนุรักษ์ บ ารุงรักษา
                  มรดกศิลปวัฒนธรรม พร้อมติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล
                  ประสิทธิภาพ
                               (2) ธ ารงรักษาจารีตประเพณี และอนุรักษ์ บ ารุงรักษามรดกศิลปวัฒนธรรมตามแผนงาน
                  ภายใน หรือตามความต้องการขององค์กรภายนอกโดยอ้างอิงตามมาตรฐานที่ได้พัฒนาไว้

                               (3) เผยแพร่ ถ่ายทอดมาตรฐานการธ ารงรักษาจารีตประเพณี และการอนุรักษ์บ ารุงรักษา
                  มรดกศิลปวัฒนธรรมให้กับบุคลากรภายในและองค์กรภายนอก พร้อมเสริมสร้างแรงจูงใจให้มีการน า
                  มาตรฐานไปสู่การปฏิบัติ

                               (4) สร้างและธ ารงรักษาบุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านให้มีความต่อเนื่อง
                  และเพียงพอ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เป็นผู้บริหารมรดกศิลปวัฒนธรรมที่มีประสิทธิภาพ
                               (5) พัฒนากฎระเบียบ ระบบบริหารจัดการ เพื่อให้เอื้อต่อการบริหารราชการ และส่งเสริม
                  การกระจายอ านาจ เพื่อให้การธ ารงรักษาจารีตประเพณี และการอนุรักษ์บ ารุงรักษามรดก

                  ศิลปวัฒนธรรมเป็นไปอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน
                               (6) ส่งเสริมการกระจายอ านาจ เสริมสร้างเครือข่าย และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
                  ในการอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรม
                               (7) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการธ ารงรักษา

                  จารีตประเพณี และการอนุรักษ์บ ารุงรักษามรดกศิลปวัฒนธรรมอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204