Page 197 - Land Use Plan of Thailand
P. 197

6-35





                        6.3.6 พื้นที่แหล่งน้้ามีพื้นที่ทั้งหมด 7,902,556 ไร่ หรือร้อยละ 2.46 ของพื้นที่ประเทศไทย

                  สามารถจ าแนกเป็นแหล่งน้ าในเขตป่าไม้ตามกฎหมาย 2,493,472 ไร่ หรือร้อยละ 0.77 ของพื้นที่ประเทศไทย
                  และแหล่งน้ านอกเขตป่าไม้ตามกฎหมาย 5,409,084 ไร่ หรือร้อยละ 1.69 ของพื้นที่ประเทศไทยโดย
                  พื้นที่แหล่งน้ าในเขตป่าไม้ตามกฎหมายประกอบด้วย แหล่งน้ าธรรมชาติ 1,123,802 ไร่ แหล่งน้ าผิวดินที่

                  สร้างขึ้น 1,369,670 ไร่ แหล่งน้ านอกเขตป่าไม้ตามกฎหมายประกอบด้วย แหล่งน้ าธรรมชาติ 3,360,747
                  ไร่ และแหล่งน้ าผิวดินที่สร้างขึ้น 2,048,337 ไร่ รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 6-5

                  ตารางที่ 6-5พื้นที่แหล่งน้ าของประเทศไทย

                                                            เนื้อที่ (ไร่)
                     เขตการใช้ที่ดินประเทศไทย                                            รวม     ร้อยละ
                                            เหนือ     กลาง   ตะวันออกเฉียงเหนือ   ใต้

                   พื้นที่แหล่งน้ า       1,392,317  1,782,285   3,232,800   1,495,154  7,902,556   2.46

                   แหล่งน้ าในเขตป่าไม้ตามกฎหมาย   504,505   615,574   364,538   1,008,855  2,493,472   0.78

                     แหล่งน้ าธรรมชาติ     113,515   85,795       88,993      835,499   1,123,802   0.34

                     แหล่งน้ าผิวดินที่สร้างขึ้น   390,990   529,779   275,545   173,356   1,369,670   0.43

                   แหล่งน้ านอกเขตป่าไม้ตามกฎหมาย   887,812   1,166,711   2,868,262   486,299   5,409,084   1.69

                     แหล่งน้ าธรรมชาติ     651,061   621,549     1,698,104    390,033   3,360,747   1.05

                     แหล่งน้ าผิวดินที่สร้างขึ้น   236,751   545,162   1,170,158   96,266   2,048,337   0.64

                  ที่มา : จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์

                             แนวทางในการพัฒนา
                             1.   ควรเร่งด าเนินการศึกษาหาแนวทางในการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินเพิ่มเติม แต่ต้องค านึงถึง

                  ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปประกอบการพิจารณาดังกล่าว
                             2. ควรมีการบ ารุงรักษาและขุดลอกแหล่งน้ าตามธรรมชาติที่มีอยู่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
                  ของการเก็บกักน้ า

                             3.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ควรเร่งจัดท าโครงการเพื่อจัดหาแหล่งน้ าขนาดเล็กในไร่นา
                  ของเกษตรกรและประสานงานกับกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงเกษตร
                  และสหกรณ์ให้เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก โดยจัดท ากรอบแผนการด าเนินการ
                  ตามล าดับความส าคัญ

                             4.  บริเวณพื้นที่ลุ่มในแต่ละพื้นที่ซึ่งเป็นที่สาธารณประโยชน์ หน่วยงานของรัฐ ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
                  ควรมีการตรวจสอบ ป้องกันและด าเนินการแก้ไขปัญหาการบุกรุกยึดครองพื้นที่ในเขตนี้เพราะเป็นที่
                  สาธารณประโยชน์ สภาพพื้นที่เป็นที่ลุ่มต่ าไม่เหมาะส าหรับการน าที่ดินมาใช้ด้านเกษตรกรรม
                  ควรคงสภาพไว้เพื่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศต่อไป
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202