Page 204 - Land Use Plan of Thailand
P. 204

6-42





                  ชายแดนมีวิถีชีวิตฝั่งโขงหลายจังหวัด มีเมืองท่องเที่ยวกีฬา ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์

                  ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด สุรินทร์ และศรีสะเกษบรรพชีวินซากดึกด าบรรพ์และแหล่งโบราณคดีโดยมี
                  วิสัยทัศน์การพัฒนา คือ “การท่องเที่ยวแห่งวิถีชีวิตอีสานใต้ร่วมสมัยเชื่อมโยงลาวกัมพูชาและเวียดนาม”
                  (คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจ าเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้, 2558)

                               (6)  เขตพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาตอนกลาง ประกอบไปด้วย
                  จังหวัดพระนครศรีอยุธยาสิงห์บุรีอ่างทองปทุมธานีและนนทบุรีโดยมีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็น
                  ศูนย์ปฏิบัติการของเขตพัฒนาการท่องเที่ยว ได้ประกาศเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยว เมื่อ พ.ศ.2559
                  เนื่องจากเป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่น่าท่องเที่ยวระดับสากลมีโครงข่ายการคมนาคมที่สะดวกเนื่องจาก
                  ตั้งอยู่ใกล้ศูนย์กลางคมนาคมของประเทศเดินทางไปกลับสะดวกทุกจังหวัดมีแม่น้ าเจ้าพระยาไหลผ่าน

                  สามารถพัฒนาเป็นการท่องเที่ยวทางน้ าได้นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลายนอกจากแหล่ง
                  ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเนื่องจากมีชุมชนอันหลากหลายเชื้อชาติศาสนาเช่นมอญจีนญี่ปุ่นมักกะสัน
                  เปอร์เซียฮอลันดาโปรตุเกสที่สามารถสร้างจุดเด่นได้แล้วยังมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม รวมถึงมี

                  การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ให้ตอบสนองรสนิยมของนักท่องเที่ยวที่หลากหลายขึ้นเช่นสวนสาธารณะ
                  ตลาดน้ าและพิพิธภัณฑ์ต่างๆ โดยมีวิสัยทัศน์การพัฒนา คือ “การท่องเที่ยววิถีชีวิตและภูมิปัญญาลุ่มแม่
                  น้าเจ้าพระยาแหล่งเรียนรู้ระดับภูมิภาค” (คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจ าเขตพัฒนาการ
                  ท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาตอนกลาง, 2559)

                               (7)  เขตพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มแม่น้ าโขง ประกอบไปด้วยจังหวัดหนองคายเลย
                  บึงกาฬนครพนมและมุกดาหารโดยมีจังหวัดหนองคายเป็นศูนย์ปฏิบัติการของเขตพัฒนาการท่องเที่ยว
                  ได้ประกาศเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยว เมื่อ พ.ศ.2559 เนื่องจากเป็นกลุ่มจังหวัดที่มีทุนทางวัฒนธรรม
                  และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลายมีความหลากหลายทางชีวภาพ และความสมบูรณ์ของพื้นที่ลุ่มน้ า

                  มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมที่สะดวก โดยเฉพาะมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว อยู่ถึงสามแห่ง
                  ด้วยกัน ได้แก่ สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 1 ที่จังหวัดหนองคาย ไปยัง กรุงเวียงจันทน์ สะพาน
                  มิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 ที่จังหวัดมุกดาหาร ไปยัง แขวงสะหวันเขต และสะพานมิตรภาพไทย-ลาว
                  แห่งที่ 3 ที่จังหวัดนครพนม ไปยัง เมืองท่าแขก แขวงค าม่วน นอกจากนี้ยังมีค่าครองชีพต่ า คุ้มค่ากับการ

                  ท่องเที่ยว มีความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวกับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขงนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยว
                  จึงควรเน้นการท่องเที่ยวโดยใช้ทัศนียภาพของแม่น้ าโขง และวิถีชีวิตลุ่มแม่น้ าโขง รวมทั้งใช้การท่องเที่ยว
                  โดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ เพื่อน าเสนอประสบการณ์ให้กับนักท่องเที่ยว โดยมีวิสัยทัศน์การพัฒนา คือ

                  “การท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม สะพานเชื่อมโยงสองฝั่งโขง”   (คณะกรรมการ
                  พัฒนาการท่องเที่ยวประจ าเขตพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มแม่น้ าโขง, 2559)
                               (8)  เขตพัฒนาการท่องเที่ยวมรดกโลกด้านวัฒนธรรม ประกอบไปด้วยจังหวัดสุโขทัย
                  ตาก ก าแพงเพชร และพิษณุโลก โดยมีจังหวัดสุโขทัยเป็นศูนย์ปฏิบัติการของเขตพัฒนาการท่องเที่ยว
                  4 จังหวัด ได้ประกาศเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยว เมื่อ พ.ศ.2559 ในเขตพื้นที่นี้มีความแตกต่าง

                  หลากหลายด้านเงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต กล่าวคือ พิษณุโลกเป็นเมืองศูนย์กลางภาคเหนือตอนล่าง
                  ที่มีความพร้อมทางด้านสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และแหล่งโบราณสถานโบราณวัตถุ รวมถึงสิ่ง
                  อ านวยความสะดวกต่างๆ โดยมีแหล่งสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ส าคัญ อีกทั้งยังมีทรัพยากรทาง

                  วัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ขณะที่จังหวัดสุโขทัย และก าแพงเพชรมีอุทยาน
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209