Page 168 - Land Use Plan of Thailand
P. 168

6-6





                  Land Evaluation (FAO, 1981) ทั้งนี้ได้ประเมินเฉพาะทางด้านคุณภาพซึ่งจะประเมินแต่เฉพาะ

                  ทางด้านกายภาพเท่านั้น
                        หลักการของ FAO ได้จ าแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเป็น 2 อันดับ (Order) คือ
                        1.  อันดับที่เหมาะสม (Order S, Suitability)

                        2.  อันดับที่ไม่เหมาะสม (Order N, Not Suitability)
                        และจาก 2 กลุ่มที่ได้แบ่งย่อยออกเป็น 4 ชั้น (class) ดังนี้

                        S1     :  หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)
                        S2     :  หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)
                        S3     :  หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (Marginally suitable)

                        N      :  หมายถึง ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable)
                  ขั้นตอนที่ 6 ประเมินก าหนดทางเลือกที่เหมาะสม
                        การวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจและสังคม ในขั้นตอนที่ผ่านมาจะเป็นการพิจารณา
                  ทางด้านกายภาพ ในขั้นตอนนี้จะเป็นการประเมินผลกระทบของทางเลือกการใช้ที่ดินแต่ละประเภท
                  การใช้ที่ดินทางด้านเศรษฐศาสตร์ สังคม และสิ่งแวดล้อม ผลจากการศึกษาเรื่องต้นทุนผลตอบแทน

                  ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม นโยบาย ข้อกฎหมาย และรวมถึง
                  ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศจะถูกน ามาประเมิน เพื่อให้เห็นทางเลือกการใช้ที่ดินที่เหมาะสมชัดเจนขึ้น
                  ขั้นตอนที่ 7 เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด

                        ขั้นตอนนี้จะท าการรวบรวมและสรุปข้อเท็จจริงเพื่อเลือกแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ดีที่สุด
                  ผ่านระบบการตัดสินใจอย่างรอบคอบ โดยทางเลือกการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ถูกเลือกจะต้องสอดคล้องตรง
                  กับเป้าหมายมากที่สุด เพื่อจะน ามาก าหนดเขตการใช้ที่ดิน
                  ขั้นตอนที่ 8 จัดท าแผนการใช้ที่ดิน

                        ขั้นตอนแรกเป็นการน าเสนอร่างแผนการใช้ที่ดินพร้อมแผนที่โดยต้องสามารถบอกได้ว่าอะไรคือ
                  ทางเลือกการใช้ที่ดินที่แนะน า และมีแนวทางในการด าเนินการอย่างไร รวมถึงเหตุผลในการตัดสินใจใน
                  การก าหนดเขตการใช้ที่ดินต่างๆ เพื่อน าไปสู่ขั้นตอนการสร้างการรับรู้และรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วน
                  ได้ส่วนเสีย เพื่อปรับปรุงร่างแผนการใช้ที่ดิน เมื่อปรับปรุงแล้วจึงจัดท าแผนการใช้ที่ดินเป็นขั้นตอนต่อไป

                  ขั้นตอนที่ 9 น าแผนการใช้ที่ดินสู่การปฏิบัติ
                        โดยใช้ช่องทางผ่านคณะกรรมการพัฒนาที่ดิน เพื่อให้แผนการใช้ที่ดินของประเทศไทยมีผลไปสู่
                  การปฏิบัติสามารถใช้เป็นกรอบแนวทาง สนับสนุนการตัดสินใจในการก าหนดการใช้ที่ดินในเชิงนโยบาย
                  ภาพรวมของประเทศได้ รวมถึงเป็นกรอบสนับสนุนในการด าเนินการวางแผนการใช้ที่ดินในระดับภาค

                  จังหวัด และต าบลต่อไป
                  ขั้นตอนที่ 10 ติดตามและปรับปรุงแผนการใช้ที่ดิน
                        เพื่อเป็นการติดตามและตรวจสอบว่าแผนการใช้ที่ดินของประเทศไทยได้มีการน าไปใช้หรือไม่

                  ประเด็นที่ควรติดตาม ได้แก่ กิจกรรมการใช้ที่ดิน เป้าหมาย และระยะเวลา หากพบว่าทิศทางการใช้
                  ที่ดินไม่ตรงตามแผนการใช้ที่ดินที่ก าหนด ควรจะมีการศึกษาตรวจสอบ ประเมินผล และด าเนินการ
                  ปรับปรุงให้มีความสอดคล้องกับความเป็นจริง
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173