Page 65 - แผนการใช้ที่ดินเพื่อการผลิตข้าวคุณภาพสูงรายพันธู์ กข43
P. 65

3-23





                        จากการประเมินความเหมาะสมของข้าว กข43 พบว่า ประเทศไทยมีพื้นที่ชั้นความเหมาะสมตาม

                  ศักยภาพของหน่วยที่ดินในการปลูกข้าวพันธุ์ กข43 ในพื้นที่อาศัยน้ำฝนเป็นหลัก (นาปี) รวมทั้งหมด
                  90,578,953 ไร่ รายละเอียดดังตารางที่ 3-10 และรูปที่ 3-10 มีรายละเอียดศักยภาพชั้นความเหมาะสม
                  ของหน่วยที่ดินในการปลูกพืช สามารถสรุปได้ดังนี้

                        1) พื้นที่ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) ที่มีศักยภาพการปลูกพืชเศรษฐกิจข้าวพันธุ์ กข43 ทั้งประเทศ
                  มีเนื้อที่ 3,629,696 ไร่ หรือร้อยละ 4.01 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมทั้งประเทศ ภาคเหนือ มีเนื้อที่
                                                                                                      ื
                  379,040 ไร่ หรือร้อยละ 10.44 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอ
                  มีเนื้อที่ 216,506 ไร่ หรือร้อยละ 5.96 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคกลาง
                  มีเนื้อที่ 2,384,538 ไร่ หรือร้อยละ 65.70 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออก

                  มีเนื้อที่ 723 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ และภาคใต้ มีเนื้อที่
                  648,889 ไร่ หรือร้อยละ 17.88 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ
                        2)  พื้นที่ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) ที่มีศักยภาพการปลูกพืชเศรษฐกิจข้าวพันธุ์ กข43 ทั้งประเทศ

                  มีเนื้อที่ 25,849,854 ไร่ หรือร้อยละ 28.54 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมทั้งประเทศ ภาคเหนือ มีเนื้อที่
                  5,374,326 ไร่ หรือร้อยละ 20.79 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  มีเนื้อที่ 10,922,824 ไร่ หรือร้อยละ 42.25 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                  ภาคกลาง มีเนื้อที่ 4,722,030 ไร่ หรือร้อยละ 18.27 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                  ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 1,831,334 ไร่ หรือร้อยละ 7.08 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                  และภาคใต้ มีเนื้อที่ 2,999,340 ไร่ หรือร้อยละ 11.60 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                          โดยภาคเหนือส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c)
                  การระบายน้ำตามลักษณะของการซาบซึมน้ำ (w) และปริมาณน้ำที่มีผลต่อการงอก (g)

                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c) ความอิ่มตัว
                  ด้วยค่าด่าง (b) ปริมาณน้ำในช่วงการเจริญเติบโต (r) การระบายน้ำตามลักษณะของการซาบซึมน้ำ (w)
                  และการระบายน้ำของดิน (o) ภาคกลางส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ปริมาณฟอสฟอรัส (p) ความอ่มตัว
                                                                                                   ิ
                  ด้วยค่าด่าง (b) และปริมาณน้ำที่มีผลต่อการงอก (g) ภาคตะวันออกส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ

                  ปริมาณฟอสฟอรัส (p) และความอิ่มตัวด้วยค่าด่าง (b) และภาคใต้ส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ
                  ปริมาณฟอสฟอรัส (p) ปริมาณโพแทสเซียม (k) และความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c)
                        3)  พื้นที่ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ที่มีศักยภาพการปลูกพชเศรษฐกิจข้าวพันธุ์ กข43 ทั้งประเทศ
                                                                         ื
                  มีเนื้อที่ 61,099,403 ไร่ หรือร้อยละ 67.45 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมทั้งประเทศ ภาคเหนือ มีเนื้อที่
                  13,481,991 ไร่ หรือร้อยละ 22.07 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  มีเนื้อที่ 35,492,266 ไร่ หรือร้อยละ 58.09 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ ภาคกลาง
                  มีเนื้อที่ 6,382,489 ไร่ หรือร้อยละ 10.45 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ ภาคตะวันออก
                  มีเนื้อที่ 2,712,512 ไร่ หรือร้อยละ 4.44 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ และ

                  ภาคใต้ มีเนื้อที่ 3,030,145 ไร่ หรือร้อยละ 4.96 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ
                          โดยภาคเหนือส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ปริมาณน้ำในช่วงการเจริญเติบโต (r)
                  การระบายน้ำตามลักษณะของสภาพพื้นที่ (a) และการระบายน้ำตามลักษณะของการซาบซึมน้ำ (w)

                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ความลึกของดิน (e) ปริมาณฟอสฟอรัส (p) การระบายน้ำ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70