Page 68 - แผนการใช้ที่ดินเพื่อการผลิตข้าวคุณภาพสูงรายพันธู์ กข43
P. 68

3-26





                                                                                              ั
                        ประเทศไทยมีพ้นที่ชั้นความเหมาะสมตามศักยภาพของหน่วยที่ดินในการปลูกข้าวพนธุ์ กข43
                                     ื
                  ในพื้นที่ชลประทาน (นาปรัง) รวมทั้งหมด 24,618,204 ไร่ รายละเอียดดังตารางที่ 3-11 และรูปที่ 3-11
                  มีรายละเอียดศักยภาพชั้นความเหมาะสมของหน่วยที่ดินในการปลูกพืช สามารถสรุปได้ดังนี้
                                                                                     ั
                        1) พื้นที่ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) ที่มีศักยภาพการปลูกพืชเศรษฐกิจข้าวพนธุ์ กข43 ทั้งประเทศ
                  มีเนื้อที่ 3,460,009 ไร่ หรือร้อยละ 14.05 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมทั้งประเทศ ภาคเหนือ มีเนื้อที่
                  379,040 ไร่ หรือร้อยละ 10.95 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  มีเนื้อที่ 196,947 ไร่ หรือร้อยละ 5.69 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่
                  2,384,538 ไร่ หรือร้อยละ 68.92 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ และภาคใต้ มีเนื้อที่
                  499,484 ไร่ หรือร้อยละ 14.44 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ

                        2) พื้นที่ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) ที่มีศักยภาพการปลูกพืชเศรษฐกิจข้าวพันธุ์ กข43 ทั้งประเทศ
                  มีเนื้อที่ 12,081,797 ไร่ หรือร้อยละ 49.08 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมทั้งประเทศ ภาคเหนือ มีเนื้อที่
                  3,488,315 ไร่ หรือร้อยละ 28.87 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                  มีเนื้อที่ 1,681,114 ไร่ หรือร้อยละ 13.91 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง
                  มีเนื้อที่ 4,382,307 ไร่ หรือร้อยละ 36.27 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                  ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 1,068,729 ไร่ หรือร้อยละ 8.85 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                  และภาคใต้ มีเนื้อที่ 1,461,335 ไร่ หรือร้อยละ 12.10 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                          โดยภาคเหนือส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c) และการระบายน้ำ
                  ตามลักษณะของการซาบซึมน้ำ (w) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนประจุบวก (c) ความอิ่มตัวด้วยค่าด่าง (b) และการระบายน้ำตามลักษณะของการซาบซึมน้ำ (w)
                  ภาคกลางส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ปริมาณฟอสฟอรัส (p) และความอิ่มตัวด้วยค่าด่าง (b) ภาคตะวันออก

                  ส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ปริมาณฟอสฟอรัส (p) และความอมตัวด้วยค่าด่าง (b) และภาคใต้ส่วนใหญ่
                                                                    ิ่
                  มีข้อจำกัด คือ ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c) และความอิ่มตัวด้วยค่าด่าง (b)
                                                                         ื
                        3) พื้นที่ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ที่มีศักยภาพการปลูกพชเศรษฐกิจข้าวพันธุ์ กข43 ทั้งประเทศ
                  มีเนื้อที่ 9,076,398 ไร่ หรือร้อยละ 36.87 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมทั้งประเทศ ภาคเหนือ มีเนื้อที่

                  1,280,623 ไร่ หรือร้อยละ 14.11 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  มีเนื้อที่ 2,666,946 ไร่ หรือร้อยละ 29.38 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ ภาคกลาง
                  มีเนื้อที่ 3,712,133 ไร่ หรือร้อยละ 40.90 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ

                                                                         ี
                  ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 1,046,835 ไร่ หรือร้อยละ 11.53 ของพื้นที่ที่มชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ
                  และภาคใต้ มีเนื้อที่ 369,861 ไร่ หรือร้อยละ 4.07 ของพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ
                          โดยภาคเหนือส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ปริมาณฟอสฟอรัส (p) การระบายน้ำตาม ลักษณะของ
                  สภาพพนที่ (a) และการระบายน้ำตามลักษณะของการซาบซึมน้ำ (w) ภาคตะวันเฉียงเหนือส่วนใหญ   ่
                         ื้
                  มีข้อจำกัด คือ ปริมาณฟอสฟอรัส (p) ความเค็ม (x) การระบายน้ำตามลักษณะของสภาพพื้นที่ (a) และ

                  การระบายน้ำตามลักษณะของการซาบซึมน้ำ (w) ภาคกลางส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ปริมาณฟอสฟอรัส (p)
                  และความเค็ม (x) ภาคตะวันออกและภาคใต้ส่วนใหญ่มีข้อจำกัด คือ ปริมาณฟอสฟอรัส (p) และ
                  การระบายน้ำตามลักษณะของสภาพพื้นที่ (a)
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73