Page 204 - rubber
P. 204

ผก-16





                            6.1.8  ไม่เก็บเกี่ยวผลผลิตก่อนสารป้องกันก าจัดศัตรูพืชที่ใช้จะสลายตัวถึงระดับปลอดภัย

                  โดยดูจากตารางค าแนะน าการใช้สารป้องกันก าจัดศัตรูพืช

                            6.1.9  ท าลายภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใช้หมดแล้วอย่าทิ้งตามร่องสวนแม่น้ า ล าคลอง
                        6.2  การใช้เครื่องพ่นสารป้องกันก าจัดศัตรูพืช
                            6.2.1  เครื่องพ่น : นิยมใช้มี 2 ชนิด ได้แก่

                                1) เครื่องพ่นแบบสูบโยกสะพายหลัง

                                2) เครื่องยนต์พ่นสารชนิดใช้แรงดันน้ า
                            6.2.2  วิธีการใช้

                                1) เครื่องพ่นแบบสูบโยกสะพายหลัง ใช้อัตราการพ่น 6 0 -80 ลิตรต่อไร่

                  เลือกใช้หัวพ่นแบบกรวยขนาด (เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.6 มิลลิเมตร) ส าหรับการพ่นสารป้องกันก าจัดสารฆ่าแมลง
                  และโรคพืช

                                2) เครื่องยนต์พ่นแบบกรวยขนาดกลาง (เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0-1.2 มิลลิเมตร)

                  ปรับความดันในระบบพ่นไว้ที่ 10 บาร์ หรือ 150 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ถ้าเป็นหัวพ่นแบบกรวยชนิดปรับ
                  ให้ได้ละอองกระจายกว้างที่สุด ซึ่งจะได้ละอองขนาดเล็กสม่ าเสมอ เหมาะส าหรับการพ่นสารป้องกัน

                  ก าจัดแมลง และโรคพืช
                                3) การพ่นสารก าจัดวัชพืชต้องแยกใช้เครื่องพ่นเฉพาะ ควรเลือกใช้หัวพ่นแบบพัด

                  หรือแบบปะทะ ใช้อัตราการพ่น 60-80 ลิตรต่อไร่ หลังพ่นไม่ควรรบกวนผิวหน้าดิน ขณะพ่นกดหัวพ่นต่ า

                  เพื่อให้ละอองสารเคมีตกลงบนพื้นที่ต้องการควบคุมวัชพืชเท่านั้น ระวังการพ่นซ้ าแนวเดิมเพราะจะท าให้
                  ปริมาณสารเพิ่มเป็นสองเท่า

                                4) ใช้ความเร็วในการเดินพ่นประมาณ 1 ก้าวต่อวินาที พ่นให้คลุมทั้งต้น
                  ไม่ควรพ่นจี้นานเกิน เพราะจะท าให้น้ ายาโชกและไหลลงดิน และควรพลิก หงายหัวพ่นขึ้นลงเพื่อให้

                  ละอองแทรกเข้าทรงพุ่มได้ดีขึ้น โดยเฉพาะด้านใต้ใบ

                                5) การพ่นสารก าจัดวัชพืช ควรถือหัวพ่นที่ความสูงเดียวกันตลอดการปฏิบัติงาน
                                6)  การพ่นสารทุกครั้งให้เริ่มพ่นจากด้านใต้ลมก่อนจากนั้นขยายแนวการพ่นขึ้นเหนือลม

                  ขณะเดียวกันให้หันหัวพ่นไปทางใต้ลมตลอดเวลา เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารป้องกันก าจัดศัตรูพืช

                  7. การเสริมรายได้ในสวนยาง

                        การเสริมรายได้สามารถด าเนินการได้โดยปลูกพืช หรือเลี้ยงสัตว์ระหว่างแถวยางตั้งแต่เริ่มปลูกไปจนถึง
                  โค่นยาง โดยพิจารณาตลาด แรงงาน เงินทุน ขนาดพื้นที่สวนยาง สภาพแวดล้อม และลักษณะนิสัยของ

                  เกษตรกร การเสริมรายได้ในสวนยางมีหลายประเภท








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208