Page 201 - rubber
P. 201

ผก-13





                                การป้องกันก าจัด ปลูกยางพันธุ์ต้านทานโรค ตัดแต่งกิ่งและก าจัดวัชพืชในสวนยาง

                  ให้โล่งเตียน เพื่อลดความชื้นและความรุนแรงของโรค ใช้สารป้องกันก าจัดโรค

                            5.1.2  โรคราแป้ง
                                สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา

                                ลักษณะอาการ  ใบอ่อนร่วง ใบที่ไม่ร่วง แผ่นใบจะมีแผลขนาดไม่แน่นอนมีปุย

                  เชื้อราสีขาวเทาปกคลุมอยู่ ต่อมาแผลจะเป็นรอยด่าง สีเหลืองซีดและกลายเป็นสีน้ าตาล ดอกยางมีปุยเชื้อรา
                  ปกคลุมก่อนที่จะด าแล้วร่วง

                                การแพร่ระบาด ระบาดมากในพื้นที่ที่สภาพแวดล้อมกลางวันร้อนกลางคืนเย็นและชื้น
                  ตอนเช้ามีหมอกและเป็นช่วงที่ต้นยางผลิใบใหม่

                                การป้องกันก าจัด ปลูกยางพันธุ์ต้านทานโรค ใช้สารป้องกันก าจัดโรค

                            5.1.3  โรคใบจุดก้างปลา
                                สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา

                                ลักษณะอาการ แผลบนใบมีสองลักษณะ เป็นจุดกลมทึบ สีน้ าตาลด า ขอบแผลสีเหลือง
                  และแผลลายก้างปลา ต่อมาใบจะร่วงส าหรับแผลบนกิ่งก้านเป็นรูปยาวรี ตามความยาวของกิ่งก้าน

                  กลางแผลจะช้ า ต่อมากิ่งก้านจะแห้งตาย

                                การแพร่ระบาด ระบาดในพื้นที่ทั่วไป เฉพาะแหล่งที่มีสภาพแวดล้อม เหมาะสม
                  จะระบาดมากในช่วงฤดูฝน

                                การป้องกันก าจัด ปลูกยางพันธุ์ต้านทานโรค ตัดแต่งกิ่งก้านและก าจัดวัชพืชในสวน

                  ยางให้โล่งเตียนเพื่อลดความชื้นและความรุนแรงของโรค ไม่ควรปลูกงา ถั่วเหลืองและมะละกอในพื้นที่
                  ที่มีการระบาดของโรค เนื่องจากเป็นพืชอาศัยของโรค ใช้สารป้องกันก าจัดโรค

                            5.1.4  โรคราสีชมพู

                                สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา
                                ลักษณะอาการบริเวณที่ถูกท าลายจะเป็นรอยปริมาณมีน้ ายางไหลซึมเป็นทางยาว

                  และมีเส้นใยสีขาวคล้ายใยแมงมุมปกคลุม เมื่อเชื้อราเจริญลุกลามเข้าถึงเนื้อไม้จะเห็นผิวเปลือกเป็นแผ่น
                  สีชมพูและมีกิ่งใหม่แตกออกบริเวณใต้รอยแผล

                                การแพร่ระบาด ระบาดในพื้นที่ทั่วไปเฉพาะแหล่งที่มีสภาพแวดล้อม เหมาะสม
                  จะระบาดมากในช่วงฤดูฝน

                                การป้องกันก าจัด ปลูกยางพันธุ์ต้านทานโรค ตัดแต่งกิ่งก้านและก าจัดวัชพืชในสวนยาง

                  ให้โล่งเตียนเพื่อลดความชื้นและความรุนแรงของโรค ต้นที่เป็นโรค ให้ตัดส่วนที่เป็นโรคต่ ากว่ารอยแผล
                  2-3 นิ้ว เผาส่วนที่เป็นโรค ทาสารป้องกันโรคเคลือบรอยแผลที่ตัด ใช้สารป้องกันก าจัดโรค







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206