Page 199 - rubber
P. 199

ผก-11





                  ตารางภาคผนวกที่  2  ปริมาณแม่ปุ๋ยและสารตัวเดิม (กิโลกรัม) ในการผสมปุ๋ยตามค าแนะน าน้ าหนัก 100 กิโลกรัม


                                     ไดแอมโมเนียม                        โพแทสเซียม        สารตัวเดิม
                       สูตรปุ๋ย        ฟอสเฟต             ยูเรีย           คลอไรด์       ทราย/ดินร่วน
                                       18-46-0           46-0-0            0-0-60

                     20-10-12             22               36                20               22
                      30-5-18             10               60                30                0


                        3.4  การตัดแต่งกิ่ง
                            - ตัดแต่งกิ่งในช่วงต้นฤดูฝน และปลายฤดูฝน

                            - ตัดกิ่งแขนงให้ชิดล าต้นในระดับประมาณ 2 เมตร
                            - ไม่โน้มต้นยางลงมาตัดแต่ง เพราะจะท าให้เปลือกแตกน้ ายางไหล หรือหักได้

                            - ใช้ปูนขาวหรือปูนแดงหรือสี ทาบริเวณแผลที่ตัด

                        3.5  การสร้างทรงพุ่ม
                            - ในกรณีต้นยางไม่แตกกิ่ง ให้ท าการสร้างทรงพุ่ม
                            - สร้างทรงพุ่มที่ระดับความสูง 2.00-2.50 เมตร

                            - ถ้าต้นยางสูงไม่มากนัก ให้ใช้วิธีคลุมยอดหรือวิธีสวมยอด แต่ถ้าต้นยางสูงมากและ

                  ส่วนสีน้ าตาลสูงเกิน 2.50 เมตร ให้ใช้วิธีควั่นที่ระดับความสูง 2.20 เมตร
                            - ห้ามใช้วิธีตัดยอด แต่ถ้าจะต้องเลี้ยงพุ่มให้มีแขนงยอด โดยวิธีตัดทอนแขนงข้าง 3-5 กิ่ง

                  ให้เจริญเติบโตต่ ากว่าแขนงยอด เพื่อป้องกันทรงพุ่มหนัก และกิ่งแตกเป็นกระจุก

                            - ถ้ามีกิ่งแขนงแตกที่ระดับ 2-2.5 เมตร แล้วไม่จ าเป็นต้องสร้างทรงพุ่มกับต้นยางต้นนั้นอีก
                        3.6  การท าแนวป้องกันไฟ
                            - ก่อนเข้าฤดูแล้งแนะน าให้ปราบวัชพืชบริเวณแถวยางและระหว่างแถวยาง

                            - ก าจัดวัชพืชรอบแนวสวนเป็นแนวกว้างไม่ต่ ากว่า 3 เมตร และเก็บเศษวัชพืชออกให้หมด

                            - กรณีต้นยางถูกไฟไหม้เล็กน้อย แนะน าให้ใช้ปูนขาวทาล าต้นทันทีเพื่อป้องกันความร้อน
                  จากแสงแดด โรค และแมลงที่อาจเข้าท าลายได้

                            - ถ้าต้นยางในสวนได้รับความเสียหายจากไฟไหม้เกินร้อยละ 40 ของต้นยางทั้งหมด

                  จนไม่อาจรักษาหน้ายางได้ ควรปลูกใหม่ทั้งแปลง
                        3.7  การป้องกันรอยไหม้จากแสงแดด
                            - ต้นยางที่ปลูกในเขตแห้งแล้งมักปรากฏรอยไหม้จากแสงแดด ซึ่งเกิดจากการที่เนื้อเยื่อ

                  ส่วนนั้นได้รับแสงแดดเป็นเวลานานติดต่อกันจนเซลล์เนื้อเยื่อเสียหาย ไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปได้











                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204