Page 181 - rubber
P. 181

4-87





                          4) พัฒนาคุณภาพยางของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต

                  การแปรรูปยางคุณภาพที่เหมาะสม และสนับสนุนสถาบันเกษตรกรร่วมกันแปรรูปยางเพื่อผลิตยางคุณภาพ

                  รวมทั้งใช้มาตรการทางกฎหมายลงโทษผู้ผลิตยางปลอมปน
                      4.3.3 มาตรการการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
                          1) พัฒนาระบบและกระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยี ทั้งโดยภาครัฐและการมีส่วนร่วมของ

                  เกษตรกร โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีโดยผ่านศูนย์เรียนรู้ยางพารา เพื่อให้ผู้น ากลุ่มเกษตรกรและเกษตรกร

                  ที่มีศักยภาพในการเป็นผู้น า สามารถเรียนรู้และรับเทคโนโลยีโดยตรง และสนันสนุนการแลกเปลี่ยน
                  เรียนรู้ด้านยางพาราระหว่างผู้ปลูกยางเดิมกับผู้ปลูกยางใหม่ เพื่อให้ผู้ปลูกยางได้มีโอกาสพัฒนาตนเอง

                  และสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

                          2) พัฒนาต่อยอดงานวิจัยในเชิงพาณิชย์ และพิ่มจ านวนนักวิจัย ให้มีการพัฒนาจัดหา
                  เทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ให้ทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน หรือระบบบริหารจัดการ เพื่อรองรับการขาดแคลน

                  แรงงานคนในสวนยาง

                          3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ และประชาคมวิจัยระดับ
                  นานาชาติให้มีความหลากหลาย และสามารถแลกเปลี่ยนเข้าถึงข้อมูลพร้อมเทคนิคการพัฒนางานวิจัย

                  ให้เท่าทันกับประชาคมวิจัยระดับนานาชาติ
                      4.3.4 มาตรการการพัฒนาตลาดและช่องทางการจัดจ าหน่าย

                          1) สร้างโอกาสการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจ าหน่ายยางพาราเพิ่มขึ้น
                  โดยประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ให้ได้รับข้อมูลที่เป็นเอกภาพ ถูกต้องและ

                  เป็นปัจจุบันเพื่อประโยชน์ในการวางแผนของทุกภาคส่วน รวมทั้งสร้างกลไกในการวิเคราะห์สถานการณ์เร่งด่วน

                  เพื่อก าหนดเป้าหมายชี้น า และแจ้งสื่อต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นผู้เกี่ยวข้องเตรียมการเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
                  ปัจจัยส าคัญทางเศรษฐกิจ

                          2) สนับสนุนส่งเสริมสถาบันเกษตรกรให้เป็นแหล่งรวบรวมยางและซื้อขายยาง
                  โดยสนับสนุนสถาบันเกษตรกรรวบรวมและซื้อขายยางของสมาชิกเอง รวมทั้งจัดหาตลาดรองรับ

                  ผลิตภัณฑ์ยางของสถาบันเกษตร

                          3) พัฒนาระบบตลาดในประเทศ โดยส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการซื้อขาย
                  ในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า และพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางตลาดยางพาราในภูมิภาค และใช้อ้างอิง

                  เป็นตลาดหลักของโลก รวมทั้งเชื่อมโยงตลาดกลางยางพาราในภาคต่าง ๆ และพัฒนาให้มีการซื้อขาย
                  ยางแบบท าสัญญาล่วงหน้าแล้วส่งมอบยางจริง (Forward Contract)

                          4) สนับสนุนการตลาดต่างประเทศและขยายตลาดส่งออกยางและผลิตภัณฑ์ยาง

                  โดยก ากับมาตรฐานยางพาราให้เป็นที่เชื่อถือวางใจของคู่ค้าและผู้บริโภค เสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186