Page 89 - oil palm
P. 89

2-33





                       ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา  เนื้อดินคอนขาง

                  เปนทรายในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมีปญหาเรื่องการชะลางพังทลายของหนาดิน

                        แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต รองกนหลุมดวยปุยหมักหรือปุยคอก         20-35

                  กิโลกรัมตอหลุม และปุยหินฟอสเฟตรองกนหลุม ประมาณ 0.25 กิโลกรัมตอหลุม คลุกเคลากับดินทิ้งไว

                  ประมาณ 15 วัน กอนปลูกพืช พื้นที่ที่ดินเปนกรดจัดมากใหใชวัสดุปูน อัตรา 0.5-1 กิโลกรัมตอหลุม
                  ปรับปรุงบํารุงดิน  และใสคีเซอรไรต 1  กิโลกรัมตอตน  ชวงตนและปลายฤดูฝน  และโบเรต 0.09

                  กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน มีระบบอนุรักษดินและน้ํา รวมกับการทําขั้นบันได ใชปุยสูตร 18-46-0

                  อัตรา 1.83 กิโลกรัมตอตน รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 2.33 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60
                  อัตรา 2.33 กิโลกรัมตอตน หรือใชปุยสูตร 14-14-21 อัตรา 10.00 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 15-15-15

                  อัตรา 9.33 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 12-9-21 อัตรา 11.70 กิโลกรัมตอตน สําหรับภาคใต สวนภาค

                  ตะวันออกและพื้นที่อื่นๆ ใชปุยสูตร 15-15-20 อัตรา 9.33 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 15-15-15 อัตรา
                  9.33  กิโลกรัมตอตน  ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลวหวานรอบโคนตนหางจากโคนตนประมาณ 30

                  เซนติเมตร

                    50)   กลุมชุดดินที่ 51
                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก  เชน  ภาคใต  ภาคตะวันออก  เกิดจากการสลายตัวผุพัง

                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อคอนขาง

                  หยาบหรือคอนขางละเอียด  ที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินแปร  พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินตื้นหรือตื้นมาก  มีการระบายน้ําดี  เนื้อดินเปนพวกดิน
                  รวนปนเศษหิน เศษหินสวนใหญเปนพวกเศษหินทราย  ควอรตไซต  หรือหินดินดานและพบชั้นหิน

                  พื้นภายในความลึก 50  เซนติเมตร  สีดินเปนสีน้ําตาล  สีเหลืองหรือสีแดง  ดินมีความอุดมสมบูรณตาม

                  ธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก
                        กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 51 51B 51C 51D และ 51E

                       ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เปนดินตื้น  มีเศษหินปะปนอยูในเนื้อดินเปน

                  ปริมาณมากและมีชั้นหินพื้นอยูตื้นดินมีความอุดมสมบูรณต่ําในบริเวณที่มีความลาดชันสูงมีแนวโนมเกิด

                  การชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย
                       แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต เนื่องจากดินกลุมนี้เปนดินตื้นถึงชั้นหินพื้น  บางพื้นที่

                  อาจพบกรวดลูกรังหรือเศษหินบริเวณหนาดิน รากพืชไมสามารถหยั่งลึกไดเทาที่ควร  ทําใหเสี่ยงตอการลม

                  เสียหาย จึงไมแนะนําใหปลูกในพื้นที่กลุมชุดดินนี้

                    51)   กลุมชุดดินที่ 52
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94