Page 85 - oil palm
P. 85

2-29





                        ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํามากและเนื้อดิน

                  คอนขางเปนทรายจัด ไมมีธาตุอาหารที่เปนประโยชนตอพืชหลงเหลืออยูและพืชมักแสดงอาการขาดธาตุ

                  อาหารใหเห็น ในชวงฤดูแลงชั้นดานจะแหงและแข็งมาก รากพืชไมสามารถไชชอนผานไปไดสวนในชวง

                  ฤดูฝนจะเปยกแฉะและมีน้ําแชขัง
                        แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต  เนื่องจากดินกลุมนี้เปนดินทรายมีชั้นดานอินทรีย

                  หรือถาจําเปนตองปลูกตองมีการจัดการพื้นที่อยางดี โดยเฉพาะหาแหลงน้ําเพิ่มเติมหรือใสปุยอินทรีย

                  เพื่อปรับโครงสรางของดิน เชน ปุยหมัก-ปุยคอก

                    42)   กลุมชุดดินที่ 43
                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออกหรือบริเวณชายฝงทะเล

                  เกิดจากตะกอนทรายชายทะเลหรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูก

                  เคลื่อนยายมาทับถมของพวกวัสดุเนื้อหยาบ  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่น
                  ลอนลาด พบบริเวณหาดทราย  สันทรายชายทะเล  หรือบริเวณที่ลาดเชิงเขา  เปนดินลึกมีการระบายน้ํา

                  คอนขางมากเกินไป  เนื้อดินเปนพวกดินทราย  ดินมีสีเทา  สีน้ําตาลออนหรือเหลือง  ดินมีความอุดม

                  สมบูรณตามธรรมชาติต่ํา  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง  ถาพบบริเวณสันทราย
                  ชายทะเลจะมีเปลือกหอยปะปนอยูในเนื้อดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลาง

                        กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 43 43B และ 43C

                       ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เนื้อดินเปนทรายจัด  ทําใหมีความสามารถ

                  ในการอุมน้ําไดนอย  พืชจะแสดงอาการขาดน้ําอยูเสมอ  นอกจากนี้ดินยังมีความอุดมสมบูรณต่ํามาก

                        แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต  เนื่องจากดินกลุมนี้เปนดินทรายจัด  ถาจําเปนตอง
                  ปลูกควรมีการจัดการพื้นที่อยางดีโดยเฉพาะหาแหลงน้ําเพิ่มเติมหรือใสปุยอินทรีย เพื่อปรับโครงสราง

                  ของดิน เชน ปุยหมัก-ปุยคอก

                     43)   กลุมชุดดินที่ 44
                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือจากการสลายตัวผุพัง

                  อยูกับที่ของพวกวัสดุเนื้อหยาบ  พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                  ถึงลูกคลื่นลอนชัน  เปนดินลึกมาก การระบายน้ําดีถึงมากเกินไป  ความอุดมสมบูรณต่ํา  เนื้อดินเปนพวก
                  ดินทรายสีดินเปนสีเทาหรือสีน้ําตาลออนและในดินลางที่ลึกมากกวา150      เซนติเมตร อาจพบเนื้อดินเปน

                  ดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย  บางบริเวณอาจพบจุดประสีตางๆ  ในดินชั้นลางปฏิกิริยา

                  ดินบนและดินลางเปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลางและบางบริเวณอยูรวมกับพื้นที่ดินโผล

                        กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 44 44B และ 44C
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90