Page 81 - oil palm
P. 81

2-25





                        แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต  พื้นที่ที่มีปริมาณน้ําฝนเพียงพอใหรองกนหลุมดวย

                  ปุยหมักหรือปุยคอก 20-35 กิโลกรัมตอหลุม และปุยหินฟอสเฟตรองกนหลุม ประมาณ 0.25 กิโลกรัมตอหลุม

                  คลุกเคลากับดินทิ้งไวประมาณ 15 วัน กอนปลูกพืช ปรับปรุงบํารุงดิน และใสคีเซอรไรต 1 กิโลกรัมตอตน

                  ชวงตนและปลายฤดูฝน และโบเรต 0.09 กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน มีระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน
                  ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกหญาแฝกรวมกับการทําขั้นบันได ถาปริมาณน้ําฝนไมเพียงพอ ตองสรางแหลงน้ํา

                  และจัดระบบการใหน้ําในแปลงปลูก ใชปุยสูตร 18-46-0 อัตรา 1.83 กิโลกรัมตอตน รวมกับปุยสูตร

                  46-0-0 อัตรา 0.81 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 0.58 กิโลกรัมตอตน หรือใชปุยสูตร 13-21-15
                  อัตรา 5.38 กิโลกรัมตอตน สําหรับภาคใต สวนภาคตะวันออกและพื้นที่อื่นๆ ใชปุยสูตร 15-15-20 อัตรา

                  5.60 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 20-15-10 อัตรา 5.60 กิโลกรัมตอตน ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลว

                  หวานรอบโคนตนหางจากโคนตนประมาณ 30 เซนติเมตร

                    36)   กลุมชุดดินที่ 37
                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือการสลายตัวผุพังอยูกับ

                  ที่หรือการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบวางทับอยูบนชั้นหินผุหรือชั้นดิน

                  เหนียว  พบบริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดิน
                  ลึกปานกลางการระบายน้ําดีปานกลาง  ความอุดมสมบูรณต่ํา  เนื้อดินบนเปนดินทรายปนดินรวนสวน

                  ดินชั้นลางในระดับความลึก 50 - 100 เซนติเมตร  เปนดินเหนียว  ดินเหนียวปนเศษหินหรือเปนชั้นหิน

                  ผุสีดินบนเปนสีน้ําตาล  ดินลางเปนสีน้ําตาลปนเทา  บางแหงมีจุดประสีแดงและมีศิลาแลงออนปะปนอยู
                  จํานวนมากปฏิกิริยาดินบนเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง ปฏิกิริยาดินลางเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด

                        กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 37 และ 37B

                        ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา  ในชวงฤดูฝน

                  ดินเปยกแฉะเกินไปสําหรับพืชไรบางชนิดและหนาดินคอนขางเปนทรายหนา

                        แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต  พื้นที่ที่มีปริมาณน้ําฝนเพียงพอแนะนําใหรองกนหลุม
                  ดวยปุยหมักหรือปุยคอก 25-40  กิโลกรัมตอหลุม  และปุยหินฟอสเฟตรองกนหลุม  ประมาณ 0.25

                  กิโลกรัมตอหลุม คลุกเคลากับดินทิ้งไวประมาณ 15 วัน กอนปลูกพืช ปรับปรุงบํารุงดิน และใสคีเซอรไรต

                  1.30 กิโลกรัมตอตน ชวงตนและปลายฤดูฝน และโบเรต 0.10 กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน ถาปริมาณ
                  น้ําฝนไมเพียงพอ ตองสรางแหลงน้ําและจัดระบบ การใหน้ําในแปลงปลูก ใชปุยสูตร 18-46-0 อัตรา

                  1.83 กิโลกรัมตอตน รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 2.33 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 2.33

                  กิโลกรัมตอตน หรือใชปุยสูตร 14-14-21 อัตรา 10.00 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 9.33
                  กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 12-9-21 อัตรา 11.70 กิโลกรัมตอตน สําหรับภาคใต สวนภาคตะวันออก
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86