Page 88 - oil palm
P. 88

2-32





                        แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต เนื่องจากดินกลุมนี้เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังหรือ

                  เศษหิน  และอาจพบชั้นหินพื้นภายในความลึก 150      เซนติเมตรจากผิวดิน  รากพืชไมสามารถหยั่งลึกได

                  เทาที่ควรทําใหเสี่ยงตอการลมเสียหาย

                    48)   กลุมชุดดินที่ 49
                       เปนกลุมชุดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่หรือจากการสลายตัว

                  ผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัตถุตนกําเนิดดินที่มาจากวัสดุเนื้อ

                  คอนขางหยาบ  วางทับอยูบนชั้นดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินพื้นหรือจากวัตถุตนกําเนิดดินที่

                  ตางชนิดตางยุคกัน  พบบริเวณพื้นที่ดอน  มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดิน
                  ตื้นถึงชั้นลูกรัง  การระบายน้ําดีปานกลาง  ความอุดมสมบูรณต่ํา  เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย  สวน

                  ดินชั้นลางเปนดินเหนียว  ปนลูกรังหรือเศษหินทราย  พบภายในความลึกกอน   50   เซนติเมตร  สีดินเปน

                  สีน้ําตาล สีหรือสีเหลือง  และกอนความลึก 100      เซนติเมตร  จะเปนชั้นดินเหนียวสีเทา  มีจุดประสีน้ําตาล
                  สีแดง และมีศิลาแลงออนปะปนอยูจํานวนมาก อาจพบชั้นหินทรายหรือหินดินดานที่ผุพังสลายตัวแลว

                  ในชั้นถัดไป  ปฏิกิริยาดินบนเปนกรดจัดถึงเปนกลาง  ปฏิกิริยาดินลางเปนกรดจัดมากถึงเปนกลาง  บางพื้นที่

                  พบอยูกับพื้นที่หินพื้นโผลและพื้นที่เต็มไปดวยกอนหิน
                        กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 49 และ 49B

                       ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เปนดินตื้นและมีความอุดมสมบูรณต่ํา  บางแหง

                  มีกอนศิลาแลงโผลกระจัดกระจายอยูทั่วไปเปนอุปสรรคตอการเขตกรรม  บริเวณที่มีความลาดชันสูง

                  เกิดการชะลางพังทลายของหนาดินอยางรุนแรง
                       แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต  ไมแนะนําใหปลูกเนื่องจากเปนดินตื้นถึงชั้นกรวด

                  ลูกรัง ทับอยูบนชั้นดินเหนียว รากพืชไมสามารถหยั่งลึกไดเทาที่ควร ทําใหเสี่ยงตอการลมเสียหาย

                    49)   กลุมชุดดินที่ 50

                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก  เชน  ภาคใต  ภาคตะวันออก  เกิดจากการสลายตัวผุ
                  พังอยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อหยาบ

                  ที่มาจากพวกหินตะกอน  หรือจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา  พบบริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพ

                  พื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา  เปนดินลึกปานกลาง  มีการระบายน้ําดี  เนื้อดิน
                  ชวง 50  เซนติเมตร ตอนบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย  ในระดับความลึก

                  ประมาณ  50 - 100 เซนติเมตร พบชั้นดินปนเศษหินหรือลูกรังปริมาณมาก  สีดินเปนสีน้ําตาล  สีเหลือง

                  หรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด
                        กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 50 50B 50C 50D และ 50E
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93