Page 91 - oil palm
P. 91

2-35





                  ประมาณ 15 วันกอนปลูกพืช พื้นที่ที่ดินเปนกรดจัดมากใหใชวัสดุปูน อัตรา 0.5-1 กิโลกรัมตอหลุม

                  ปรับปรุงบํารุงดินใสคีเซอรไรต 0.80  กิโลกรัมตอตน  ชวงตนและปลายฤดูฝน  และโบเรต 0.08

                  กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน ทําระบบอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่ที่มีความลาดชัน เชน ปลูกพืชคลุมดิน
                  รวมกับการทําขั้นบันได ใชปุยสูตร 18-46-0 อัตรา 1.83 กิโลกรัมตอตน รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา

                  0.05 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 2.33 กิโลกรัมตอตน หรือใชปุยสูตร 8-24-24 อัตรา

                  5.80 กิโลกรัมตอตน สําหรับภาคใต สวนภาคตะวันออกและพื้นที่อื่นๆ ใชปุยสูตร 7-13-34 อัตรา 6.46

                  กิโลกรัมตอตน ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลวหวานรอบโคนตนหางจากโคนตนประมาณ 30 เซนติเมตร

                    53)   กลุมชุดดินที่ 54
                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยาย

                  มาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัตถุตนกําเนิดดินที่เปนพวกหินอัคนี  เชน  บะซอลตแอนดีไซต

                  พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน  มักอยูใกลกับ
                  บริเวณเทือกเขาหินปูนหรือหินภูเขาไฟ  เปนดินลึกปานกลาง  มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง  เนื้อดินเปนดิน

                  รวนเหนียวหรือดินเหนียว  โดยปกติจะมีกอนปูนหรือเศษหินที่กําลังผุพังสลายตัวปะปนอยูในเนื้อดิน

                  ดวยในชั้นดินลางลึกๆ อาจพบชั้นปูนมารล สีดินเปนสีเทาเขมหรือสีน้ําตาลหรือน้ําตาลปนแดงชั้นดินลาง
                  อาจมีจุดประสีเหลืองและสีแดง  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูงปฏิกิริยาของดิน

                  สวนใหญเปนกรดเล็กนอยถึงดางจัด

                        กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 54 54B 54C และ 54D
                       ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เนื้อดินเหนียวจัด  การไถพรวนตองทําในชวง

                  ที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ มิฉะนั้นจะทําใหดินแนนทึบ ทําใหพืชชะงักการเจริญเติบโตบริเวณที่พื้นที่มี

                  ความลาดชันสูงจะเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน

                       แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต พื้นที่ที่มีปริมาณน้ําฝนเพียงพอใหรองกนหลุมดวย

                  ปุยหมักหรือปุยคอก 15-25 กิโลกรัมตอหลุม และปุยหินฟอสเฟตรองกนหลุม ประมาณ 0.25 กิโลกรัม
                  ตอหลุม  คลุกเคลากับดินทิ้งไวประมาณ 15  วันกอนปลูกพืช  ปรับปรุงบํารุงดินใสคีเซอรไรต 0.80

                  กิโลกรัมตอตน  ชวงตนและปลายฤดูฝน  และโบเรต 0.08  กิโลกรัมตอตน  ชวงตนฤดูฝน ทําระบบ

                  อนุรักษดินและน้ําในพื้นที่ที่มีความลาดชัน  รวมกับการทําขั้นบันได  ถาปริมาณน้ําฝนไมเพียงพอ
                  ตองสรางแหลงน้ําและจัดระบบการใหน้ําในแปลงปลูกใชปุยสูตร 18-46-0 อัตรา 1.83 กิโลกรัมตอตน

                  รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 0.05 กิโลกรัมตอ ตน และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 0.58 กิโลกรัมตอตน

                  หรือใชปุยสูตร 13-21-15 อัตรา 4.00 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 5.60 กิโลกรัมตอตน
                  สําหรับภาคใต  สวนภาคตะวันออกและพื้นที่อื่นๆ  ใชปุยสูตร 15-15-15  อัตรา 5.60  กิโลกรัมตอตน

                  ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลวหวานรอบโคนตนหางจากโคนตนประมาณ 30 เซนติเมตร
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96