Page 95 - oil palm
P. 95

2-39





                  มีการปรับปรุงบํารุงดินดวยปุยหมัก หรือปุยคอก 20-35 กิโลกรัมตอหลุม คีเซอรไรด 0.8 กิโลกรัมตอตน

                  ชวงตนและปลายฤดูฝน นอกจากนี้ใสโบเรต 0.08 กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน

                    59)   กลุมชุดดินที่ 60

                       เปนกลุมชุดดินที่พบบริเวณสันดินริมน้ํา บริเวณพื้นที่เนินตะกอนซึ่งสวนใหญมีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน  เปนหนวยผสมของดินหลายชนิดที่เกิดจากตะกอน

                  ลําน้ําพัดพามาทับถมกัน  ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลางเปนดินลึกเนื้อดินเปนพวกดินรวน

                  บางแหงมีชั้นดินที่มีเนื้อดินคอนขางเปนทราย  หรือมีชั้นกรวด  ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอนตางยุคของดิน
                  อันเปนผลมาจากการเกิดน้ําทวมใหญในอดีต  ดินกลุมนี้โดยทั่วไปมีความอุดมสมบูรณปานกลางและ

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง  เนื่องจากหนวยแผนที่นี้เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด  ดังนั้น

                  ในแผนที่ดินระดับจังหวัด จึงเรียกวา เปนพวกดินตะกอนลําน้ําที่มีการระบายน้ําดี

                        กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 60 และ 60B
                        ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา  ในพื้นที่

                  ที่มีความลาดชันงายตอการถูกชะลางพังทลายสูญเสียหนาดิน

                       แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต ในพื้นที่ที่มีปริมาณน้ําฝนเพียงพอรองกนหลุมดวยปุยหมัก
                  หรือปุยคอก 20-35 กิโลกรัมตอหลุม และปุยหินฟอสเฟส รองกนหลุม ประมาณ 0.25 กิโลกรัมตอหลุม

                  คลุกเคลากับดินทิ้งไวประมาณ  15 วัน  กอนปลูกพืช  และมีระบบอนุรักษดินและน้ํา  เชน  ปลูกพืชคลุมดิน

                  ปลูกหญาแฝกขวางความลาดเทของพื้นที่ รวมกับการทําขั้นบันได ปรับปรุงบํารุงดิน และใสคีเซอรไรต

                  0.8 กิโลกรัมตอตน  ชวงตนและปลายฤดูฝน  นอกจากนี้ใสโบเรต 0.08 กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝนถา
                  ปริมาณน้ําฝนไมเพียงพอ ตองสรางแหลงน้ําและจัดระบบการใหน้ําในแปลงปลูก

                        ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเปนดินตื้นที่มีกอนหิน

                  หรือเศษหินกระจายอยูทั่วไป ในพื้นที่ลาดชันมีโอกาสเกิดการชะลางพังทลายของดินและขาดแคลนน้ํา

                       แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต  สภาพพื้นที่ไมเหมาะกับการปลูกพืชปาลมน้ํามัน
                  เนื่องจากสภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีความลาดชันเสี่ยงตอการเกิดการชะลางพังทลายของดินและมีการจัดการ

                  เชิงพื้นที่คอนขางยุงยาก

                    60)   กลุมชุดดินที่ 62
                       เปนกลุมชุดดินที่ประกอบดวยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกวา  35 เปอรเซ็นต

                  ลักษณะและสมบัติของดินที่พบไมแนนอน  มีทั้งดินลึกและดินตื้น  ลักษณะของเนื้อดินและความอุดม

                  สมบูรณตามธรรมชาติแตกตางกันไปแลวแตชนิดของหินตนกําเนิดในบริเวณนั้นพบเศษหิน  กอนหิน

                  หรือพื้นโผลกระจัดกระจายทั่วไป สวนใหญยังปกคลุมดวยปาไมประเภทตางๆ  เชน  ปาเบญจพรรณปา
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100