Page 176 - oil palm
P. 176

3-4






                  ตารางที่ 3-1  ระดับความตองการปจจัยตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามัน


                          ความตองการในการเพาะปลูกปาลมน้ํามัน                  ค  าพิสัย
                                                               เหมาะสม    เหมาะสม   เหมาะสม
                     คุณภาพที่ดิน    คุณลักษณะที่ดิน   หนวย                                  ไมเหมาะสม
                                                                  สูง     ปานกลาง    เล็กนอย
                  ความชุมชื้นที่เปน  ป  ร  ิมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายป  มิลลิเมตร  2,000-4,000  4,001-5,000  5,001-5,500  มากกวา 5,500
                  ประโยชน (m)                                           1,800-1,900  1,600-1,799  นอยกวา 1,599
                                ความชื้นสัมพัทธ      รอยละ   มากกวา 80  77-79     75-76    นอยกวา 75
                  ความเปนประโยชน  การระบายน้ํา       ร  ะ  ด  ับ  ด  ี  ดีปานกลาง  คอนขางเลว  เลว  ดีเกินไป  เลวมาก
                  ของออกซิเจนตอ
                  รากพืช (o)
                  ความเปนประโยชน  ปริมาณธาตุอาหารในดิน  ระดับ  สูงมาก สูง   ต  ่ํา
                  ของธาตุอาหาร (s)                              ปานกลาง
                  ความจุในการดูดยึด  C.E.C ดินลาง    meq/100g  มากกวา 15  3-15    นอยกวา 3
                  ธาตุอาหาร (n)  B.S. ดินลาง         รอยละ   มากกวา 35  นอยกวา 35
                  สภาวะการหยั่งลึก  ค  ว  า  ม  ล  ึกของดิน  เซนติเมตร  มากกวา 100  50-100  25-50  นอยกวา 25
                  ของราก ( r )
                  ความเสียหายจาก  ความถี่            จํานวนรอบป  10 ปขึ้นไป  6-9 ป           3-5 ป
                  น้ําทวม (f)                       ที่เกิดน้ําทวม  เกิด 1 ครั้ง  เ  ก  ิด 1 ครั้ง  เ  ก  ิด 1 ครั้ง
                  การมีเกลือมาก  คาการนําไฟฟาของดิน  mmho/cm.  นอยกวา 2  2-3      3-6      มากกวา 6
                  เกินไป (x)
                  สารพิษ (Z)    ระดับความลึกของจาโรไซต  เซนติเมตร  มากกวา 100  50-100  < 50
                                ปฏิกิริยาดิน (ความเปนกรด  -    5.1-6.0    6.1-7.3   7.4-8.4  มากกวา 8.4
                                เปนดาง : pH)                             4.5-5.0   4.0-4.4  นอยกวา 4.0
                  สภาวะเขตกรรม (k)  ความยากงายในการไถพรวน  ระดับ  ง  าย ปานกลาง  ยาก  ยากมาก

                  ศักยภาพการใช  ความลาดชัน           รอยละ      0-5      5-12      12-20    มากกวา 20
                  เครื่องจักร (w)  ปริมาณหินโผล      รอยละ      1         2-3        4         5
                                ปริมาณกอนหิน         รอยละ      1         5          4         5
                  ความเสียหายจาก  ความลาดชัน          ร  อยละ    0-5      5-12      12-20    มากกวา 20
                  การกรอนดิน (e)

                  หมายเหตุ :  ชวงการเจริญเติบโต    - เริ่มใหผลผลิตในปที่ 3-4 หลังการเพาะปลูก และใหผลผลิตไดถึง 30 ป หลังการเพาะปลูก
                           ชวงวิกฤตของความชื้น - ทนความแลงไดไมเกิน 3 เดือน
                           อื่นๆ - ปาลมน้ํามันจะเจริญเติบโตไดดีในพื้นที่ที่อยูระดับความสูง 0-500 เมตรจากทะเลปานกลาง

                  ที่มา :  บัณฑิต  ตันศิริ และคํารณ  ไทรฟก (2542), Adzemi Mat Arshad and et al., (2012)
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181