Page 181 - oil palm
P. 181

3-9






                  ตารางที่ 3-3  ตัวอยางการจัดชั้นความเหมาะสมดานกายภาพโดยรวม


                                                                                     ระดับความเหมาะสม
                           คุณภาพที่ดิน         คุณลักษณะที่ดินตัวแทน                 (Land Suitability

                          (Land Quality)        (Land Characteristics)
                                                                                          Rating)
                  1. ความเหมาะสมดานความตองการดานพืช (Crop Requirements)

                  -ระบอบอุณหภูมิ (t)            อุณหภูมิเฉลี่ยในฤดูปลูก                     S1
                  - ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (m)  ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในรอบป       S2m
                  - ความเปนประโยชนของออกซิเจน   สภาพการระบายน้ําของดิน
                  ตอรากพืช (o)                                                             S2o

                  ความเหมาะสมดานความตองการดานพืช (Crop Requirements)                    S2om
                  2. ความเหมาะสมรวมความตองการดานการจัดการ (Management Requirements)

                  - สภาวะการเขตกรรม (k)         ชั้นความยากงายในการเขตกรรม(ดินบน)          S1
                  - ศักยภาพการใชเครื่องจักรกล (w)    ความลาดชันของพื้นที่                 S3w
                  ความเหมาะสมรวมความตองการดานการจัดการ (Management Requirements)         S3w
                  3. ความเหมาะสมดานความตองการดานการอนุรักษ (Conservation Requirements)

                  - ความเสียหายจากการกัดกรอน (e)   ความลาดชันของพื้นที่                    S3e
                  ความเหมาะสมรวมดานความตองการดานการอนุรักษ (Conservation Requirements)   S3e

                  ความเหมาะสมดานกายภาพของประเภทการใชประโยชนที่ดิน
                  ในแตละหนวยที่ดินรวม                                                    S3ew


                            ทั้งนี้ การจัดการที่ดินสําหรับพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันเพื่อใหพื้นที่มีความเหมาะสมสําหรับ

                  พืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามันยิ่งขึ้น ไดแก การยกรองในพื้นที่ลุมหรือพื้นที่ที่มีน้ําทวมในฤดูฝน ซึ่งแสดง

                  รายละเอียดในตารางที่ 3-4 โดยจะมีสัญลักษณ (M) ตอทาย
                            การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามันไดพิจารณาประเมินคุณภาพที่ดิน

                  หรือคุณลักษณะที่ดินจํานวน 10 ชนิด ตามที่กลาวไวในหัวขอ 3.1.1 ซึ่งผลการประเมินทั้ง 10 ชนิดนั้น

                  มาจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินรวมกับการจัดการที่ดินของเกษรตรกรได ตารางที่ 3-5 แสดงผล
                  จากการจัดชั้นความเหมาะสมของทรัพยากรที่ดินโดยพิจารณาเฉพาะปจจัยคุณภาพที่ดินของหนวยที่ดิน

                  ตางๆ รวมกับการจัดการที่ดินสําหรับปลูกปาลมน้ํามันของเกษตรกรและยังไมไดพิจารณาการจัดชั้น

                  ความเหมาะสมของภูมิอากาศไดแกปริมาณน้ําฝนและความชื้นสัมพัทธ และสรุปไดดังนี้

                            1.  หนวยที่ดินที่เหมาะสมมาก (S1) ไดแก หนวยที่ดิน 1(M) 2(M) 3(M) 4(M) 5(M)
                  6(M) 7(M) 7B(M) 7hi(M) 17(M) 17B(M) 17hi(M) 18(M) 18hi(M) 19hi(M) 21(M) 22(M) 22B(M)
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186