Page 175 - oil palm
P. 175

3-3






                           -  การมีเกลือมากเกินไป (Excess of Salts: x) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก

                  ปริมาณเกลืออิสระที่สะสมมากเกินพอจนเปนอันตรายตอการเจริญเติบโตของพืช

                          2)  ความตองการดานการจัดการ (Management Requirements) เปนความตองการดาน

                  เครื่องจักร เครื่องกลซึ่งเกี่ยวของกับความยากงายสําหรับการทําเกษตร ประกอบดวยปจจัยคุณภาพ
                  ที่ดิน ไดแก ศักยภาพการใชเครื่องจักร (Potential for Mechanization: w) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน

                  ไดแก ความลาดชันของพื้นที่ และการมีเนื้อดินเหนียวจัด ซึ่งปจจัยเหลานี้อาจเปนอุปสรรคตอ

                  การไถพรวนโดยเครื่องจักร

                          3)  ความตองการดานอนุรักษ (Conservation  Requirements)  เปนความตองการเพื่อ
                  สามารถใชที่ดินไดอยางยั่งยืนโดยไมทําลายคุณภาพของที่ดิน หรือทําลายสิ่งแวดลอมอื่นๆ อัน

                  เนื่องมาจากการใชประโยชนที่ดินจึงตองมีมาตรการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม ประกอบดวยปจจัย

                  คุณภาพที่ดินไดแก ความเสียหายจากการกัดกรอน (Erosion Hazard: e) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน
                  ไดแก ความลาดชันของพื้นที่

                               จากการศึกษาและรวบรวมขอมูลพบวาปาลมน้ํามันมีแหลงเพาะปลูกหลักอยูใน

                  พื้นที่ภาคใต ภาคตะวันออก และภาคกลาง ซึ่งพบพื้นที่เพาะปลูกมากที่สุดในจังหวัดสุราษฎรธานี
                  รองลงไปเปนจังหวัดกระบี่และจังหวัดชุมพร ตามลําดับ นอกจากนั้นยังพบการปลูกในจังหวัดทางภาค

                  ตะวันออกเฉียงเหนือเล็กนอย ซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับพันธุปาลมน้ํามัน สภาพแวดลอม และปจจัยที่

                  ตองการเพื่อการเจริญเติบโต รวมทั้งการปฏิบัติดูแลรักษาสวนปาลมน้ํามันไดกลาวไวในภาคผนวกที่ 1
                            ในการประเมินคุณภาพที่ดินสําหรับปาลมน้ํามันจะไดมีการจับคูคุณภาพที่ดินที่เลือก

                  ไวกับคุณลักษณะของที่ดินของแตละหนวยที่ดิน เพื่อนําไปเปรียบเทียบกับคุณภาพที่ดินแตละชนิด

                  ของหนวยที่ดิน (Land Unit, LU)  ที่ตองการศึกษาวาจะอยูในระดับความเหมาะสมคาพิสัย (Land

                  Suitability Rating) สูงหรือต่ํา ในตารางที่ 3-1 แสดงระดับความเหมาะสมของคาพิสัยของคุณภาพที่ดิน
                  ตางๆ สําหรับปาลมน้ํามัน นอกจากนี้แลวจากการศึกษาและรวบรวมขอมูลยังพบวา ความตองการ

                  ปจจัยและสภาพแวดลอมที่มีผลตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามันแตละพันธุนั้นไมมีความแตกตาง

                  กันตามคาระดับความเหมาะสมของคาพิสัยตามที่กําหนด
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180