Page 20 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 20

2-2






                  ราบทางตอนใตของภาคครอบคลุมพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาไปทางทิศตะวันออก มีแมน้ำชีและแมน้ำมูล

                  เปนแมน้ำสายสำคัญ สวนแองสกลนครเปนพื้นที่ราบทางตอนบนของภาคครอบคลุมพื้นที่จังหวัดสกลนคร
                  อุดรธานีเรื่อยไปจนถึงจังหวัดนครพนม มีแมน้ำสายสำคัญ ไดแก แมน้ำโขงไหลผานประเทศไทยบริเวณ
                  อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ลัดเลาะไปตามแนวเขตแดนจนกระทั่งไหลวกเขาไปในสาธารณรัฐ

                  ประชาธิปไตยประชาชนลาว บริเวณอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
                     2.1.3  ภาคกลาง
                             มีพื้นที่รวมประมาณ 43,450,440 ไร ประกอบดวยจังหวัดในภาคกลาง 19 จังหวัด ไดแก
                  จังหวัดกาญจนบุรี กรุงเทพมหานคร ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ

                  พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงหบุรี
                  สุพรรณบุรี และอางทอง ลักษณะภูมิประเทศสวนใหญเปนที่ราบดินตะกอนที่ลำน้ำพัดมาทับถม มีภูเขาโดด
                  ซึ่งสวนใหญเปนภูเขาหินปนกระจายอยูทั่วไป ระดับความลาดเทของพื้นที่ลาดเทจากทิศเหนือลงมาทาง
                  ทิศใต ทางทิศตะวันออกของภาคมีเทือกเขาดงพญาเย็นและเทือกเขาสันกำแพงใชเปน แนวเขตระหวาง

                  ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของภาค บริเวณตะวันตกของภาคมีเทือกเขาวางตัว
                  ตอเนื่องจากภาคเหนือในแนวเหนือใตประกอบดวยเทือกเขาถนนธงชัยและเทือกเขาตะนาวศรีใชเปน
                  แนวพรมแดนระหวางประเทศไทยและสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาบริเวณตะวันตกมีทิวเขาที่ยาว
                  ตอเนื่องจากทิวเขาภาคเหนือลงไปจนถึงทิวเขาในคาบสมุทรภาคใต เทือกเขาที่สำคัญ ไดแก เทือกเขา

                  ถนนธงชัยและเทือกเขาตะนาวศรี บริเวณที่ราบตอนใตเปนดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ำเจาพระยา
                  ซึ่งเกิดการรวมตัวของแมน้ำปง วัง ยม และแมน้ำนานไหลมารวมกันเปนแมน้ำเจาพระยา
                      2.1.4  ภาคตะวันออก
                             มีพื้นที่รวมประมาณ 21,487,812 ไร ประกอบดวยจังหวัดในภาคตะวันออก 7 จังหวัด

                  ไดแก จังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแกว ลักษณะภูมิประเทศ
                  บริเวณตอนบนของภาคจะเปนภูเขาและแนวเทือกเขาสูง มีเทือกเขาสันกำแพงและเทือกเขาพนมดงรัก
                  ทอดตัวในแนวตะวันตกไปทางทิศตะวันออกกั้นภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณ
                  ตะวันออกของภาคมีเทือกเขาบรรทัดกั้นพรมแดนประเทศไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชาวางตัวในแนวเหนือใต

                  ถัดลงมาเปนเทือกเขาจันทบุรี เทือกเขาสูงมีความลาดเทจากทิศเหนือลงมาทิศใตทางตอนใตเปน
                  ที่ราบชายฝงทะเลลักษณะของชายฝงเวาแหวง ประกอบดวยเกาะและหาดทราย ที่สวยงามสวนพื้นที่
                  ราบมีแมน้ำบางปะกงเปนแมน้ำสายสำคัญ

                      2.1.5  ภาคใต
                             มีพื้นที่รวมประมาณ 44,196,992 ไร ประกอบดวยจังหวัดในภาคใต 14 จังหวัด ไดแก
                  จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล
                  และสุราษฎรธานี มีลักษณะภูมิประเทศเดน 4 แบบ คือ เทือกเขาสูง ที่ราบชายฝงอาวไทย ที่ราบชายฝง
                  อันดามัน และเกาะ โดยเทือกเขาสูงพบทิศตะวันตกของภาคทอดตัวในแนวเหนือใต ไดแก เทือกเขา

                  ตะนาวศรี ใชเปนพรมแดนกั้นประเทศไทยกับสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา ถัดมาเปนเทือกเขาภูเก็ต
                  ทอดตัวตอจากเทือกเขาตะนาวศรีจนถึงเกาะภูเก็ต บริเวณตอนกลางของภาคมีเทือกเขานครศรีธรรมราช
                  ทอดตัวในแนวเหนือใต สวนดานใตมีเทือกเขาสันกาลาคีรีใชเปนพรมแดนกั้นระหวางประเทศไทยกับ

                  สหพันธรัฐมาเลเซีย บริเวณตะวันตกของภาคเปนที่ราบชายฝงอันดามันเริ่มตั้งแตชายฝงจังหวัดระนองไป





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25