Page 19 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 19

บทที่ 2


                                                      ขอมูลทั่วไป

                          ประเทศไทยตั้งอยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตระหวางละติจูดที่ 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ
                  กับละติจูดที่ 20 องศา 27 ลิปดาเหนือ และระหวางลองติจูดที่ 97 องศา 22 ลิปดาตะวันออกกับ 105 องศา
                  37 ลิปดาตะวันออก มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 320,696,893 ไร

                  มีอาณาเขตติดตอกับประเทศใกลเคียง ดังนี้
                          ทิศเหนือ      ติดตอกับ     สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาและสาธารณรัฐประชาธิปไตย
                                                      ประชาชนลาว
                          ทิศตะวันตก    ติดตอกับ     สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา

                          ทิศตะวันออก   ติดตอกับ     สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและราชอาณาจักรกัมพูชา
                          ทิศใต       ติดตอกับ      สหพันธรัฐมาเลเซีย

                  2.1 สภาพภูมิประเทศ
                      จากลักษณะภูมิประเทศแตกตางกันในแตละพื้นที่ของประเทศไดแบงสภาพภูมิประเทศเปน 5 ภาค ดังนี้
                      2.1.1 ภาคเหนือ

                            มีพื้นที่รวมประมาณ 106,027,680 ไร ประกอบดวยจังหวัดในเขตภาคเหนือ 17 จังหวัด
                  ไดแก จังหวัดกำแพงเพชร เชียงใหม เชียงราย ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ
                  แพร แมฮองสอน ลำปาง ลำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ และอุทัยธานี ภูมิประเทศสวนใหญประกอบดวยทิวเขา

                  ภูเขา หุบเขาและแองแผนดินระหวางภูเขา เทือกเขาสูงทอดตัวยาวในแนวเหนือใตมีเทือกเขาแดนลาว
                  เปนเทือกเขาสำคัญดานทิศเหนือใชเปนพรมแดนระหวางประเทศไทยและสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา
                  ทางดานตะวันตกมีเทือกเขาถนนธงชัยมียอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศ ไดแก ยอดดอยอินทนนท มีความสูง
                  จากระดับทะเลปานกลาง 2,595 เมตร ตอนกลางของภาคมีเทือกเขาผีปนน้ำ ดานตะวันออกของภาคมี

                  เทือกเขาหลวงพระบางใชเปนพรมแดนระหวางประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
                  ในเขตจังหวัดนาน เทือกเขาดังกลาวเปนตนกำเนิดของแมน้ำสายสำคัญ 4 สาย ไดแก แมน้ำปง แมน้ำวัง
                  แมน้ำยม และแมน้ำนาน
                      2.1.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                            มีพื้นที่รวมประมาณ 105,533,963 ไร ประกอบดวย 20 จังหวัด ไดแก จังหวัดบึงกาฬ กาฬสินธุ
                  ขอนแกน ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร รอยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ
                  สกลนคร สุรินทร หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี หนองบัวลำภู และอำนาจเจริญ สภาพภูมิประเทศ
                  เกิดจากการยกตัวของแผนดินดานตะวันตกและดานใต การยกตัวของแผนดินดานตะวันตกทำใหเกิด

                  เทือกเขาสูงทอดตัวตามแนวเหนือใตประกอบดวยเทือกเขาเพชรบูรณซึ่งอยูทางตอนเหนือ ถัดลงมาบริเวณ
                  ตอนใตมีเทือกเขาดงพญาเย็นเปนเทือกเขาที่สำคัญ สวนการยกตัวของแผนดินดานใตทำใหเกิด
                  เทือกเขาสูงทางดานใตทอดตัวยาวจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออกประกอบดวย เทือกเขาสันกำแพง
                  ทางดานตะวันตกถัดมาเปนเทือกเขาพนมดงรักใชเปนพรมแดนระหวางประเทศไทยและราชอาณาจักร

                  กัมพูชา บริเวณตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแองกระทะ แบงเปนแองโคราชและแองสกลนครโดยมี
                  ทิวเขาภูพาน ซึ่งตั้งอยูบริเวณจังหวัดสกลนคร กาฬสินธุ และมุกดาหาร กั้นแองทั้ง 2 แอง แองโคราชเปนพื้นที่





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24