Page 21 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 21

2-3





                  จนถึงจังหวัดสตูล มีลักษณะชายฝงแบบยุบตัวจึงมีที่ราบแคบไปตามชายเขาสวนบริเวณตะวันออกของภาค

                  เปนที่ราบชายฝงอาวไทยเริ่มตั้งแตจังหวัดชุมพรลงไปถึงจังหวัดนราธิวาส ลักษณะชายฝงเปนแบบยกตัว
                  มีลักษณะที่ราบที่กวางกวาที่ราบชายฝงอันดามัน นอกจากนี้พื้นที่ฝงทะเลทั้งสองดานมีเกาะมากมาย

                  2.2   สภาพภูมิอากาศ
                        2.2.1 ลมมรสุม
                            ประเทศไทยอยูภายใตอิทธิพลของมรสุมสองชนิด คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใตและมรสุม

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตพัดปกคลุมประเทศไทยระหวางกลางเดือนพฤษภาคมถึง
                  กลางเดือนตุลาคม โดยมีแหลงกำเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกใต บริเวณมหาสมุทรอินเดีย
                  ซึ่งพัดออกจากศูนยกลางเปนลมตะวันออกเฉียงใต และเปลี่ยนเปนลมตะวันตกเฉียงใตเมื่อพัดขามเสนศูนยสูตร

                  มรสุมนี้จะนำมวลอากาศชื้นจากมหาสมุทรอินเดียมาสูประเทศไทย ทำใหมีเมฆมากและฝนตกชุกทั่วไป
                  โดยเฉพาะอยางยิ่งตามบริเวณชายฝงทะเลและเทือกเขาดานรับลมจะมีฝนมากกวาบริเวณอื่น สวนลมมรสุม
                  ตะวันออกเฉียงเหนือพัดมาปกคลุมประเทศไทยจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ มรสุมนี้มีแหลงกำเนิดจาก
                  บริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกเหนือ แถบประเทศมองโกเลียและสาธารณรัฐประชาชนจีน จึงพัดพา

                  เอามวลอากาศเย็นและแหง จากแหลงกำเนิดเขามาปกคลุมประเทศไทย ทำใหทองฟาโปรง อากาศหนาวเย็น
                  และแหงแลงทั่วไป โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนภาคใตจะมีฝนชุกโดยเฉพาะ
                  ภาคใตฝงตะวันออก เนื่องจากมรสุมนี้ นำความชุมชื้นจากอาวไทยเขามาปกคลุม
                        2.2.2 ฤดูกาล

                            จากสภาพทางภูมิศาสตรของประเทศไทยจัดอยูในประเทศเขตรอนอันมีที่ตั้งอยูเหนือเสน
                  ศูนยสูตรขึ้นมาเพียงเล็กนอย สภาพภูมิอากาศโดยทั่วๆ ไป จึงเปนแบบรอนชื้น อากาศหนาวพัดผานเขา
                  ในระยะเวลาชวงสั้นๆ เทานั้น ฤดูกาลสำหรับประเทศไทยแบงออกไดเปน 3 ฤดูกาลประกอบดวย
                            1) ฤดูฝน จะมีปริมาณฝนตกชุก เนื่องจากอิทธิพลของลมเมื่อลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต

                  พัดปกคลุมประเทศ เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมไปจนถึงกลางเดือนตุลาคม
                            2) ฤดูหนาว เริ่มเมื่อลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดเขาสูประเทศไทย โดยมีชวง
                  ระยะเวลาตั้งแตกลางเดือนพฤศจิกายนไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ ระยะนี้ภูมิอากาศของประเทศไทย

                  จะหนาวเย็น ยกเวนภาคใตที่ยังคงถือวาเปนฤดูฝนเพราะยังคงมีฝนตกอยางตอเนื่อง
                            3) ฤดูรอน จะมีชวงระยะเวลาตั้งแตกลางเดือนกุมภาพันธไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม
                  ชวงระยะเวลานี้เปนชวงเวลาที่โลกเคลื่อนที่เขาใกลดวงอาทิตยโดยดูเหมือนกับดวงอาทิตยเคลื่อนผาน
                  เสนศูนยสูตรขึ้นมาทางซีกโลกเหนือ ทำใหประเทศไทยมีอากาศรอนอบอาว และจะรอนที่สุดในชวงเดือนเมษายน
                        2.2.3 ปริมาณน้ำฝน

                            จากขอมูลสถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมของป พ.ศ. 2531 – 2560 นำมาพิจารณาเปน
                  ตัวแทนลักษณะภูมิอากาศ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต
                  ปริมาณน้ำฝนในแตละพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะภูมิประเทศนอกเหนือจากการผันแปรตาม

                  ฤดูกาล จากขอมูลสถิติสภาพภูมิอากาศดังแสดงในตารางที่ 2-1  2-2  2-3  2-4  และ 2-5
                             ปริมาณน้ำฝนรวมเฉลี่ยตลอดปของแตละภาคนั้นจะเลือกจังหวัดที่มีการปลูกมะเขือเทศโรงงาน
                  มากที่สุดในแตละภาคมาเปนตัวแทน ดังรายละเอียดตอไปนี้ ภาคเหนือมีปริมาณน้ำฝน 1,300.4 มิลลิเมตร
                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปริมาณน้ำฝน 1,432.5 มิลลิเมตร ภาคกลางปริมาณน้ำฝน 1,244.7 มิลลิเมตร





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26