Page 122 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 122

3-2





                  รวมถึงมีการแปรผันตามสภาพแวดลอม ทำใหการนำคาดังกลาวมาใชจำเปนตองมีการคาดคะเนผลจาก

                  ปจจัยรวม (diagnostic factors) โดยประเมินจาก กลุมคุณลักษณะที่ดินที่มีขอจำกัดรุนแรงที่สุดที่สงผล
                  กระทบตอปจจัยความเจริญเติบโตของพืชมากที่สุดเปนตัวกำหนดระดับความเหมาะสมสำหรับความ
                  ตองการของประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                             ดังนั้น การกำหนดระดับความตองการปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของมะเขือเทศ กำหนด
                  โดยอาศัยชวงคาความเหมาะสมจากการคาดคะเนปจจัยรวม หากมีชวงคาความเหมาะสมสูงจะใหคา
                  พิสัยสูง แตคาปจจัยใดที่มีชวงที่มีผลตอการหยุดชะงักการเจริญเติบโตจะใหคาพิสัยต่ำ เชน ปริมาณน้ำฝน
                  ที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชชนิดหนึ่งจะถูกกำหนดใหมีคาพิสัยสูง แตชวงปริมาณน้ำฝนที่มาก

                  เกินไปจะทำใหรากเนา การเจริญเติบโตจะถูกกำหนดใหมีคาพิสัยต่ำสุด
                             การกำหนดระดับคาพิสัยของคุณภาพที่ดินสามารถกำหนดชวงคาความเหมาะสมออกเปน
                  4 ชั้น โดยอาศัยหลักเกณฑในรูปของผลผลิตและการลงทุน สำหรับการเจริญเติบโตของมะเขือเทศ
                  สามารถกำหนดระดับความตองการปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของมะเขือเทศ ไดดังแสดงในตารางที่ 3-1



























































                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                             กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127