Page 20 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ
P. 20
1-2
มีแนวโน้มในการขยายพื้นที่ ทั้งนี้รัฐต้องให้การสนับสนุนในเชิงนโยบาย และการพัฒนาพื้นที่ตาม
แนวทางและข้อเสนอแนะที่ได้จัดทําขึ้น
1.2 วัตถุประสงค
เพื่อกําหนดบริเวณการใช้ ที่ดินที่เหมาะสมทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม ของพืช
เศรษฐกิจส้มโอ
1.3 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ
1.3.1 การรวบรวมขอมูลทั่วไป
ข้ อมูลที่นํามาใช้ เป็ นฐานในการศึกษาและวิเคราะห์ มีทั้งข้ อมูลเชิงอรรถาธิบายและข้ อมูล
เชิงพื้นที่ดังนี้
1) ข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย ได้ แก่ ข้ อมูลด้ านทรัพยากรต่ างๆ ที่เกี่ยวข้ อง คือ สภาพภูมิอากาศ
ทรัพยากรดิน ทรัพยากรนํ้า ทรัพยากรป่าไม้ สภาพการใช้ ที่ดิน ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง
และโครงสร้ างพื้นฐานอื่นๆ
2) ข้อมูลเชิงพื้นที่ ได้ แก่ ข้อมูลแผนที่สภาพภูมิประเทศ และขอบเขตการปกครอง แผนที่
กลุ่มชุดดิน แผนที่สภาพการใช้ ที่ดิน เป็นต้ น
1.3.2 การรวบรวมขอมูลทางดานเศรษฐกิจและสังคม
ทําการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน และข้อมูล
จากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการค้าภายใน กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
และสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นต้น
1.3.3 การนําเขาและวิเคราะหขอมูล
การนําเข้ าและวิเคราะห์ ข้ อมูลทั้งข้ อมูลเชิงพื้นที่และข้ อมูลเชิงอรรถาธิบาย โดยทําการ
เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยใช้ โปรแกรมสําเร็จรูปและโปรแกรมระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์
การวิเคราะห์ ข้ อมูลจะทําการวิเคราะห์ ข้ อมูลเฉพาะด้ านต่ างๆ แล้ วจึงนําข้ อมูลด้ านต่ างๆ
ไปวิเคราะห์ รวมเพื่อกําหนดเขตการใช้ที่ดิน โดยมีการวิเคราะห์ ข้อมูลเฉพาะด้าน ดังนี้
1) การประเมินความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจส้มโอจากรายงานความ
เหมาะสมของพืชเศรษฐกิจ โดยศึกษาร วมกับการใช้ที่ดินและการจัดการพื้นที่
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน