Page 66 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจทานตะวัน
P. 66

2-52






                  ตารางที่ 2-1  โครงการชลประทานประเภทต่างๆ จําแนกตามภาค ตั้งแต่ต้นจนถึงสิ้นปีงบประมาณ 2554

                                                    จํานวน      ปริมาตรนํ้า      พื้นที่     พื้นที่รับ

                              รายการ               โครงการ        เก็บกัก     ชลประทาน       ประโยชน์

                                                                        3
                                                     (แห่ง)      (ล้าน ม. )      (ไร่)         (ไร่)
                  1. โครงการชลประทานขนาดใหญ่            93     70,013.160    18,030,528          -
                  2. โครงการชลประทานขนาดกลาง           746      3,857.345     6,278,364          -

                  3. โครงการชลประทานขนาดเล็ก        13,339      1,754.980      975,043     10,231,382

                  4. โครงการสูบนํ้าด้วยไฟฟ้า         2,427          -         4,260,457      478,195
                  5. โครงการแก้มลิง                    164       377.453        58,900       907,064

                            รวมทั้งสิ้น             16,769     76,002.938    29,603,292    11,616,641

                  ที่มา : กรมชลประทาน (2554)


                  2.5  การใช้ประโยชน์ที่ดิน

                        ทานตะวันเป็นพืชที่เกษตรกรปลูกเพื่อเป็นรายได้เสริม เนื่องจากเป็นพืชที่มีอายุสั้น มีการปฏิบัติ

                  ดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเมื่อเทียบกับพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นๆ ส่วนใหญ่เกษตรกรปลูกเป็นพืชหมุนเวียน

                  ต่อจากพืชไร่และพืชตระกูลถั่ว โดยปลูกตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งส่วนใหญ่

                  เป็นการปลูกเพื่อใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมนํ้ามัน มีบริษัทเอกชนเป็นผู้รับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร
                  พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์แปซิฟิก 33 และเชียงใหม่ 1

                        จากการศึกษาสภาพการใช้ที่ดินปี พ.ศ. 2555 ของกรมพัฒนาที่ดิน พบว่า มีเนื้อที่เพาะปลูก

                  ทานตะวันทั้งประเทศ 159,701 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของเนื้อที่ที่ใช้ทําการเกษตร
                        แหล่งปลูกทานตะวัน ได้แก่ จังหวัดลพบุรีมีเนื้อที่ 102,681 ไร่ หรือร้อยละ 64.03 ของเนื้อที่

                  ปลูกทานตะวันทั้งประเทศ นครสวรรค์ มีเนื้อที่ 39,813 ไร่ หรือร้อยละ 24.93 สระบุรี มีเนื้อที่ 14,776

                  ไร่ หรือร้อยละ 9.25 และเพชรบูรณ์มีเนื้อที่ 2,431 ไร่ หรือร้อยละ 1.52

























                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจทานตะวัน                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71