Page 125 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจทานตะวัน
P. 125

3-43






                  ตารางที่ 3-13 ทัศนคติด้านการใช้ที่ดินของเกษตรกรที่ปลูกทานตะวัน ปีเพาะปลูก 2554/55

                                                                                          หน่วย  : ร้อยละ

                                                      เหมาะสม  เหมาะสมปาน        เหมาะสม
                                ทัศนคติ                                                        เฉลี่ย
                                                       สูง (S1)     กลาง (S2)   เล็กน้อย (S3)
                   ความคิดต่อการเปลี่ยนแปลงการปลูก

                   ทานตะวัน

                   - ไม่เปลี่ยน                         100.00       100.00       100.00       100.00
                   เหตุผลที่ไม่เปลี่ยน

                   1) เป็นพืชที่ปลูกมาต่อเนื่อง         44.23        46.51        33.33        44.23

                   2) ไม่มีความรู้ในการปลูกพืชชนิดอื่น   26.92       37.21        77.78        35.58
                   3) ใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นของตนเอง     40.38        34.88        11.11        35.58

                   4) สภาพพื้นที่ไม่เหมาะกับพืชอื่น      3.85        32.56        44.44        19.23

                   5) ได้ผลผลิตดี                        7.69        11.63        11.11         9.62

                   แนวคิดในการเพิ่มผลผลิต
                   1) เพิ่มปุ๋ ยเคมี                    61.54        69.77        100.00       68.27

                   2) เพิ่มปุ๋ ยอินทรีย์                21.15        37.21        44.44        29.81

                   3) เปลี่ยนพันธุ์                     34.62        27.91          -          29.81

                   4) ใช้ฮอร์โมนเพิ่ม                   23.08        23.26        33.33        24.04
                   5) ปรับปรุงบํารุงดิน                 11.54         9.30          -           9.62

                   6) ป้องกันวัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช      7.69          -            -           3.85

                   7) ลงทุนจัดหาแหล่งนํ้า                3.85          -            -           1.92
                  ที่มา : กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินและกลุ่มวางแผนการใช้ที่ดินที่ 1 สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน (2555)



                      จากการศึกษาต้นทุน รายได้ และผลตอบแทนการผลิตทานตะวัน ปีเพาะปลูก 2554/55
                  ได้ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 252.34 กิโลกรัม รายได้/มูลค่าผลผลิตไร่ละ 5,008.95 บาท ต้นทุนทั้งหมดไร่ละ

                  3,807.47 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด (ผลตอบแทนสุทธิ) ไร่ละ 1,201.48 บาท มีอัตราส่วน

                  รายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 1.32 การผลิตทานตะวันตามความเหมาะสมของพื้นที่ 3 ระดับ ได้แก่
                  ระดับความเหมาะสมสูง (S1) เหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กน้อย (S3)ได้ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ

                  161.58-282.47 กิโลกรัม รายได้/มูลค่าผลผลิตไร่ละ 3,207.36-5,607.03 บาท ต้นทุนทั้งหมดไร่ละ

                  2,952.98-4,229.47 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด (ผลตอบแทนสุทธิ) ไร่ละ 254.38-1,912.57 บาท






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจทานตะวัน                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130